กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวฝาย


“ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขบ้านป่าผึ้ง ประจำปี2561 ”

ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
รพสต.บ้านป่าผึ้ง

ชื่อโครงการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขบ้านป่าผึ้ง ประจำปี2561

ที่อยู่ ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 3 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขบ้านป่าผึ้ง ประจำปี2561 จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหัวฝาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวฝาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขบ้านป่าผึ้ง ประจำปี2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (3) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (4) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคการเก็บตัวอย่างอาหารสุ่มตรวจหารสารปนเปื้อน (2) แกนนำสุ่มตรวจตัวอย่าง วิเคราะห์ปัญหา คืนข้อมูลที่พบจาการสุ่มตรวจ แลกเปลี่ยนข้อมูลการให้คำแนะนำร้านขายของชำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .เพิ่มเติมการตรวจตัวย่างให้มากขึ้นและตรวจซำ้ทุก6 เดือน รวมทั้งขยายเครือข่ายอาสาสมัครให้มากขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  3. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคการเก็บตัวอย่างอาหารสุ่มตรวจหารสารปนเปื้อน
  2. แกนนำสุ่มตรวจตัวอย่าง วิเคราะห์ปัญหา คืนข้อมูลที่พบจาการสุ่มตรวจ แลกเปลี่ยนข้อมูลการให้คำแนะนำร้านขายของชำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนแกนนำมีความรู้ เครือข่ายเข้มแข็ง ชุมชนได้รับการเฝ้าระวังการบริโภค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แกนนำสุ่มตรวจตัวอย่าง วิเคราะห์ปัญหา คืนข้อมูลที่พบจาการสุ่มตรวจ แลกเปลี่ยนข้อมูลการให้คำแนะนำร้านขายของชำ

วันที่ 4 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร สุ่มตรวจอาหารสดจำนวน 20 ชนิดจากตลาดสด 2 แห่ง วิเคราะห์ปัญหา คืนข้อมูลที่พบจาการสุ่มตรวจตัวอย่าง อาหารแลกเปลี่ยนข้อมูลการให้คำแนะนำร้านขายของชำ 35 ร้าน ของแกนนำคุ้มครองผู้บริโภคบ้านป่าผึ้ง จำนวน 60 คน ค่าอาหารและอาหารว่าง 100x60คน=ุ6000.00บาท  ค่าตัวอย่างอาหาร=1800 บาท เป็น 7800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ของแกนนำคุ้มครองผู้บริโภคบ้านป่าผึ้ง จำนวน 60 คน มีความรู้สามารถให้คำแนะนำและทำหน้าที่อาสามสมัคเฝ้าระวังการใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุนแอกอฮอล์และยาสูบในชุมชุมได้ ตรวจพบร้านชำจำหน่ายแอลกอฮอล์จำนวน 15 ร้านมีการปฏิบัติตามกฎหมายและร้านชำจำหน่ายยาสูบปฏฺบัติถูกต้อง10 ร้าน จาก15 ร้าน พบมีการแบ่งขายทีมให้คำแนะนำเพิ่มเติม สุ่มตรวจตัวอย่างอาหารสดจำนวน 20 ชนิดพบไม่ผ่านร้อยละ 95

 

60 0

2. 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคการเก็บตัวอย่างอาหารสุ่มตรวจหารสารปนเปื้อน

วันที่ 25 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์ ยาสูบ มาตรฐานร้านชำ ตลาดสด สาธิตการเก็บตัวอย่างอาหารสุ่มตรวจหารสารปนเปื้อน ค่าวิทยากร 3,000 บาท ค่าอาหารและอาหารว่าง=7800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคบ้านป้่าผึ้งจำนวน 60 คนมีความรู้เรื่องมาตรการควบคุมแอลกอฮอล์ ยาสูบ มาตรฐานร้านชำ ตลาดสดและสามารถตรวจสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารได้ เกิดอาสาสมัครควบคุมแอลกอฮอล์ ยาสูบ เพิ่มขึ้นจาก 26 คนเป็น 60 คน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
15.00 20.00 22.00

มีร้านค้าเปิดเพิ่ม

2 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
10.00 15.00 15.00

 

3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
90.00 95.00 95.00

ไม่ผ่าน1ตัวอย่างจาก20ตัวอย่าง

4 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
26.00 36.00 45.00

มีผู้เข้าประชุม60คนเป็นผุ้สูงอายุ15 คน

5 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)
26.00 36.00 45.00

มีผู้เข้าประชุม60คนเป็นผุ้สูงอายุ15 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (3) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (4) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคการเก็บตัวอย่างอาหารสุ่มตรวจหารสารปนเปื้อน (2) แกนนำสุ่มตรวจตัวอย่าง วิเคราะห์ปัญหา คืนข้อมูลที่พบจาการสุ่มตรวจ แลกเปลี่ยนข้อมูลการให้คำแนะนำร้านขายของชำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .เพิ่มเติมการตรวจตัวย่างให้มากขึ้นและตรวจซำ้ทุก6 เดือน รวมทั้งขยายเครือข่ายอาสาสมัครให้มากขึ้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขบ้านป่าผึ้ง ประจำปี2561 จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพสต.บ้านป่าผึ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด