กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประมวล ไชยวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 1 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3332-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 1 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 253,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่าทุกคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อน สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน  แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น  ฉะนั้นผู้สูงอายุควรต้องได้รับความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมา ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งรัฐบาลไทย และทั่วโลกได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงมีความพยายาม และมีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ให้ทุกคนตระหนัก เข้าใจ และพร้อมดูแลผู้สูงอายุให้ทัดเทียมเช่นเดียวกับการดูแลประชากรในกลุ่มอายุอื่นด้วยประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคของวัยผู้สูงอายุที่เป็นประชากรวัยพึ่งพิงที่หน่วยงานรัฐบาลทุกภาคส่วนจะต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากภาวะพึ่งพิงบ่งบอกถึงสถานะที่บุคคลไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งและต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น และผู้สูงอายุมักจะได้รับการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพังขาดการเหลียวแลจากคนรอบข้าง ชมรมผู้สูงอายุบ้านเกาะเคียน  จึงได้จัดทำโครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในตำบลนาปะขอ มีความรู้ มีทักษะ ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น ได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ มีทักษะ ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพ
  4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ แนวทางการดำเนินชีวิตให้มีความสุขในวัยผู้สูงอายุ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ทักษะชีวิตและนันทนาการ การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
  2. การประกวดเทพีผู้สูงอายุ
  3. การจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านอาหาร,สุขภาพ,กีฬา และอื่นๆ
  4. ด้านสถานที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ มีทักษะ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้
    1. ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
    2. ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
    3. ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ มีทักษะ ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ มีทักษะ ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกัน พบปะ พูดคุย และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพ (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ แนวทางการดำเนินชีวิตให้มีความสุขในวัยผู้สูงอายุ         กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ทักษะชีวิตและนันทนาการ การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน (2) การประกวดเทพีผู้สูงอายุ (3) การจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านอาหาร,สุขภาพ,กีฬา และอื่นๆ (4) ด้านสถานที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลคนสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เนื่องในวันผู้สูงอายุสากล จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประมวล ไชยวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด