โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
ธันวาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กันยายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กันยายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,360.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 21 และ 24 ของประชากรรวม ในอีกสิบและสิบสี่ปีข้างหน้าตามลำดับ และสังคมไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ตามนิยามของสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2568 กล่าวคือ ทุกๆ 5 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป 1 คน และทุกๆ 100 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 65 ปีขึ้นไปถึง 14 คน โดยจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคนในปี 2583 ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2558) จากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคม หรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตัวเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆได้ และอีกร้อยละ 21 (1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่ากลุ่มติดบ้านติดเตียง และต้องการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคม ตำบลท่าเรือมีผู้สูงอายุจำนวนทั้งสิ้น 473 คน และกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะพึ่งพิงหรือกลุ่มติดบ้านติดเตียง จำนวน 15 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ 73.3 ติดบ้าน ร้อยละ 23.10 และติดเตียงร้อยละ 3.17 (ข้อมูล:งาน อผส. กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ)
จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ปรับตัวไม่ทันต่อสถานการณ์ต่างๆ ก่อให้เกิดภาวะด้านจิตใจ เกิดความเครียด ขาดการพักผ่อนหย่อนใจ ส่งผลกระทบให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ขาดความสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม และการบริโภคอาหารที่พอเหมาะพอควร ดังนั้น เพื่อให้มีภาวะโภชนาการดี ลดการเจ็บป่วยของโรคต่างๆ และความพิการซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ จากสาเหตุของโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดในสมอง เป็นต้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ (ศพอส.) จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ต่อเนื่องและเหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ
- ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง
- 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม
2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ
3.เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ
4.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง
วันที่ 10 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
บรรยายให้ความรู้ การออกกำลังกายที่เหมาะสมแต่ละประเภทของผู้สูงอายุ จำนวน 10วัน ๆละ 1 ชั่วโมง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้สูงอายุแบบองต์รวม
50
0
2. 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง
วันที่ 10 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ฝึกปฎิขัติออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า จำนวน 5วันๆละ 1ชั่วโมง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อสร้างเสริมกิจกรรมให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลายความเครียด
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้มีความรู้ด้านดูแลสุขภาพที่หลากหลาย
0.00
70.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้รู้วิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมและรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายแต่ละชนิด
0.00
70.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้มีความสัมพันธ์ที่ดีและได้มีกิจกรรมร่วมกันอย่างมีความสุข
0.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง (2) 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ
ธันวาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กันยายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กันยายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,360.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ประมาณ 10 ล้านคน จำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง คาดว่าผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 21 และ 24 ของประชากรรวม ในอีกสิบและสิบสี่ปีข้างหน้าตามลำดับ และสังคมไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ตามนิยามของสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2568 กล่าวคือ ทุกๆ 5 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป 1 คน และทุกๆ 100 คนที่เดินผ่านไป จะมีผู้สูงอายุเกิน 65 ปีขึ้นไปถึง 14 คน โดยจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคนในปี 2583 ขณะเดียวกันสัดส่วนของผู้สูงอายุวัยปลายก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันอายุเฉลี่ยของหญิงไทยอยู่ที่ 78.4 ปี ในขณะที่ชายไทยมีอายุเฉลี่ย 71.6 ปี (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทยและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2558) จากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ร้อยละ 79 (5 ล้านคน) คือผู้สูงอายุติดสังคม หรือกลุ่มที่ยังช่วยเหลือตัวเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆได้ และอีกร้อยละ 21 (1.3 ล้านคน) คือผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงหรือเรียกว่ากลุ่มติดบ้านติดเตียง และต้องการดูแลทั้งด้านสุขภาพและสังคม ตำบลท่าเรือมีผู้สูงอายุจำนวนทั้งสิ้น 473 คน และกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะพึ่งพิงหรือกลุ่มติดบ้านติดเตียง จำนวน 15 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ 73.3 ติดบ้าน ร้อยละ 23.10 และติดเตียงร้อยละ 3.17 (ข้อมูล:งาน อผส. กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ) จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ปรับตัวไม่ทันต่อสถานการณ์ต่างๆ ก่อให้เกิดภาวะด้านจิตใจ เกิดความเครียด ขาดการพักผ่อนหย่อนใจ ส่งผลกระทบให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ขาดความสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม และการบริโภคอาหารที่พอเหมาะพอควร ดังนั้น เพื่อให้มีภาวะโภชนาการดี ลดการเจ็บป่วยของโรคต่างๆ และความพิการซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ จากสาเหตุของโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดในสมอง เป็นต้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ (ศพอส.) จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง และได้รับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ต่อเนื่องและเหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ
- ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง
- 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ 3.เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำบรรยายให้ความรู้ การออกกำลังกายที่เหมาะสมแต่ละประเภทของผู้สูงอายุ จำนวน 10วัน ๆละ 1 ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้สูงอายุแบบองต์รวม
|
50 | 0 |
2. 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำฝึกปฎิขัติออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า จำนวน 5วันๆละ 1ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อสร้างเสริมกิจกรรมให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลายความเครียด
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้มีความรู้ด้านดูแลสุขภาพที่หลากหลาย |
0.00 | 70.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้รู้วิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมและรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายแต่ละชนิด |
0.00 | 70.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุได้มีความสัมพันธ์ที่ดีและได้มีกิจกรรมร่วมกันอย่างมีความสุข |
0.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 ข้อที่ 1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแก่ผู้สูงอายุแบบองค์รวม (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกันมีการพบปะพูดคุยกันและทำกิจกรรมนันทนาการระหว่างผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ความรู้และทักษะด้านการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดี ไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จำนวน 10 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง (2) 2. กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน 10 วัน ๆ ละ 1 ชั่วโมง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......