กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง ”
ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน



หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม อสม.บ้านห้วยม้าโก้ง




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง

ที่อยู่ ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ 08/2561 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง จังหวัดลำพูน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน รหัสโครงการ 08/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวาน    มันเค็มจัด และมีความเครียด องค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สังเกตจาก สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง ๖๓% ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า ๘๐% เป็น ประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง ๑๔ ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของประชากรทั้งประเทศ อีกทั้งสถิติการ เสียชีวิตดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ย ของทั้งโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้น เรื่อยๆ ในอนาคต ซึ่งโรคในกลุ่ม โรค NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด ๖ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง
จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น ปัญหาที่พบ คือผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับการตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น ส่งผลทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาพยาบาลตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ส่งผลทำให้การลุกลามของโรคต่างๆมากขึ้น จนยากแก่การรักษาทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการักษาพยาบาลสูงขึ้น ดังนั้นทางกลุ่ม อสม.    บ้านห้วยม้าโก้ง หมู่ที่ ๘ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาสุขภาพเบื้องต้นได้จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่แกนนำด้านสุขภาพและ ผู้สูงอายุ
  2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๑ วัน
  3. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
  4. สรุปผลการดำเนินเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรัง ๒. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนงานและกำหนดการการดำเนินงานโครงการ

 

13 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๑ วัน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๑ วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรัง

 

40 0

3. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 25 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลงานเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

 

13 0

4. สรุปผลการดำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

วันที่ 6 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่แกนนำด้านสุขภาพและ ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่แกนนำด้านสุขภาพและ ผู้สูงอายุ  (2) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๑ วัน (3) ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน (4) สรุปผลการดำเนินเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านห้วยม้าโก้ง จังหวัด ลำพูน

รหัสโครงการ 08/2561

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม อสม.บ้านห้วยม้าโก้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด