กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒ ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วงมหญีย์

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2562 ถึง 21 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 มิถุนายน 2562 - 21 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ณ ปัจจุบันหญิงมีครรภ์มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆในระหว่างการตั้งครรภ์และการคลอดทำให้เราต้องเตรียมตัวตั้งแต่เนิ่นๆเพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดมีความปลอดภัยและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง แต่หากไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องก็อาจจะทำให้การพัฒนาทั้งด้านร่างกายสติปัญญาและอารมณ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ควรจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของตำบลมะรือโบออกอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาสในปี ๒๕๖๑ พบว่า อัตราการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ๗๔.๖๗ (เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕) อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ ๓๒ สัปดาห์คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๕๐ (เกณฑ์ร้อยละ ๑๐) และอัตราการคลอดบุตรน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม คิดเป็นร้อยละ ๗.๕๐ (เกณฑ์ร้อยละ ๗.๐๐)ซึ่งถือว่าอยู่ในอัตราที่สูง ปัญหาดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงการมีภาวะเสี่ยงต่อการหญิงตั้งครรภ์และบุตร และส่งผลให้ไม่ได้รับการวางแผนการป้องกันดูแลถึงวิธีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง โดยเฉพาะในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง (High Risk )
ดังนั้นรพ.สต.มะรือโบออก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ จึงได้เห็นความสำคัญในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะเริ่มตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดบุตรให้ได้รับความปลอดภัย มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งมารดาและบุตร จึงได้จัดทำโครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ
  4. เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. คัดกรองภาวะเสี่ยง
  3. ติดตามเยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12สัปดาห์ ร้อยละ 7๕ 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด ไม่มากกว่า ร้อยละ10 3.หญิงตั้งครรภ์ทุกรายมีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ๗๐ 4.มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 70


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.00 น. อธิบายเรื่องการติดตามหญิงตั้งครรภในชุมชนและภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ล่าช้า 10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.16 - 12.15 น. อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ถึงการประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้กราฟ 12.16 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง 13.00 - 14.15 น. แบ่งกลุ่มระหว่างหญิงตั้งครรภ์กับ อสม. เพื่อหาวิธีการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และวิธีการประเมินภาวะโภชนาการ 14.16 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.31 - 16.30 น. นำเสนอครบทุกกลุ่มถึงวิธีการค้นหาและประเมินกราฟภาวะโภชนาการจนเสร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. ทำให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
  3. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ
  4. ทำให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

 

91 0

2. คัดกรองภาวะเสี่ยง

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการตรวจหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการแทงลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. ทำให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
  3. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ
  4. ทำให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

 

91 0

3. ติดตามเยี่ยมบ้าน

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. ทำให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
  3. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ
  4. ทำให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

 

91 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
91.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
ตัวชี้วัด : ไม่เกินร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
91.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๗๐ หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการ
91.00

 

4 เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๗๐ มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์
91.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ (4) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) คัดกรองภาวะเสี่ยง (3) ติดตามเยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี๒๕๖๒ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตัซนีม ต่วงมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด