กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน อาแว

ชื่อโครงการ โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กรกฎาคม 2562 ถึง 24 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กรกฎาคม 2562 - 24 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาการคุณภาพชีวิตเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็นประชากรที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของชาติ เด็กทุคนควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิด ได้รับสาอาหารที่ครบถ้วน 5หมู่ และการส่งเสริมพัฒนาการตามที่ถูกต้อง ทั้งนี้ เพราะเด็กในวัยนี้เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งร่างกายและสติปัญญา ประกบกับการพัฒนาการด้านต่างๆในวันนี้มีผลต่อการกำหนดลักษณะ พฤติกรรม และความสามารถในการปรับตัวต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กก่อนวัยเรียนจะต้องมีโภชนาการที่ไม่มีภาวะทุพโภชนาการและได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ เป็นต้น จากการเฝ้าระวังความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กอายุ0-5ปีของหมู่บ้านในเขตรพ.สต.บ้านปิเหล็งพบว่าได้เพียงร้อยละ65 ซึ่งอัตราความครอบคลุมยังต่ำกว่าตัวชี้วัดที่กระทรวงวางเป้าหมายไว้ คือ ร้อยละ95 และกลุ่มภาวะโภชนาการที่มีสูงดีสมส่วนได้เพียงร้อยละ51 ซึ่งก็ต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวง กำหนดไว้เช่นกันคือ ร้อยละ70 ดังนั้นปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ดังนั้นปัญหาความครอบคุลมการได้รับวัคซีน ความสมส่วนของโภชนาการตลอดจนพัฒนาการในเด็กอายุ0-5ปีนั้นสำคัญอย่างยิ่ง
เพื่อให้การเฝ้าระวังและการแก้ไขปัญหาดังกล่าวนั้นได้ผลอย่างยั่งยืนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันและดูแลสุขภาพ ในกลุ่มเด็กอายุ 0-72เดือน(0-5ปี) เพื่อมุ่งหวังให้ชุมชนร่วมจัดกิจกรรม ได้รับความรู้ ตลอดจนวางแผนส่งเสริมโภชนาการ พัฒนาการ และการรับวัคซีนให้ครอบคุลมของเด็กอายุ0-72เดือน(0-5ปี) ในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
  2. 2.ผู้ปกครองสามารถปฏิบัติการลงน้ำหนักตามกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการได้
  3. ผู้ปกครองมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับโรค และโทษ อันตรายเกี่ยววัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการ
  2. จัดเตรียมเอกสารการจัดอบรม
  3. อบรมให้ความรู้โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถในด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน/ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ด้านการ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสมและถูกต้อง
  2. อัตราการรับบริการวัคซีนตามเกณฑ์กระทรวงกำหนดเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงโครงการ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนแนวทางการดำเนินงานกับ อบต.มะรือโบออก
  2. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกันต่อกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนงานโครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างภูมิคุ้มกัน ในชุมชนเขต รพ.สต.บ้านปิเหล็ง
  3. ประชุมค้นหาร่วมกับ อสม. เพื่อค้นหากลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดและกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาด้านโภชนาการ
  4. เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ในการอบรม
  5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ความสำคัญของวัคซีน /โภชนาการ /พัฒนาการ และเพื่อสอบถามปัญหา เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
  6. เฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายในชุมชนตรวจสอบแหล่งยาที่มีการสะสมยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์ และสาธิตยกตัวอย่างยาที่ปลอดภัย และยาที่ไม่ปลอดภัย
  7. สรุปผลการดำเนินงานแก่กลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องและรายงานผลการดำเนินงาน
  8. ประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถในด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน/ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ด้านการ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสมและถูกต้อง
  2. อัตราการรับบริการวัคซีนตามเกณฑ์กระทรวงกำหนดเพิ่มขึ้น

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. อบรมให้ความรู้ด้านโภชนากาพร้อมปฏิบัติการบันทึกน้ำหนักในสมุดสุขภาพประจำตัวเด็ก(สมุดสีชมพู) 10.00น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น.-11.30 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กที่เหมาะสมและถูกต้อง 11.30 น.-12.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. แสดงวิธีการประเมินพัฒนาการส่งเสริมตามเกณฑ์DSPMพร้อมฝึกปฏิบัติการทักษะการส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้ปกครอง 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-15.30 น.อบรมให้ความรู้เกี่ยววัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามกลุ่มวัย และโรคต่างๆเกี่ยวกับวัคซีน 15.30 น.-16.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้การใช้ยา 16.00 น. เสร็จการอบรมให้ความรู้โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ในชุมชนบ้านปิเหล็ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถในด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน/ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ด้านการ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสมและถูกต้อง
  2. อัตราการรับบริการวัคซีนตามเกณฑ์กระทรวงกำหนดเพิ่มขึ้น

 

40 0

3. จัดเตรียมเอกสารการจัดอบรม

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดเตรียมเอกสารในการดำเนินโครงการ และจัดอุปกรณืในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถในด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน/ด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ด้านการ ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสมและถูกต้อง
  2. อัตราการรับบริการวัคซีนตามเกณฑ์กระทรวงกำหนดเพิ่มขึ้น

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ร้อยละ 80
40.00

 

2 2.ผู้ปกครองสามารถปฏิบัติการลงน้ำหนักตามกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองสามารถปฏิบัติการลงน้ำหนักตามกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการได้ถูกต้อง ร้อยละ 95
40.00

 

3 ผู้ปกครองมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับโรค และโทษ อันตรายเกี่ยววัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับโรค และโทษ อันตรายเกี่ยววัคซีนร้อยละ 80
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) 2.ผู้ปกครองสามารถปฏิบัติการลงน้ำหนักตามกราฟเพื่อประเมินภาวะโภชนาการได้ (3) ผู้ปกครองมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับโรค และโทษ อันตรายเกี่ยววัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการ (2) จัดเตรียมเอกสารการจัดอบรม (3) อบรมให้ความรู้โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กน้อยสุขภาพดี สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน ชุมชนบ้านปิเหล็งสุขใจ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2480-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมาน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด