กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์กำจัดเหาเด็กวัยเรียน
รหัสโครงการ 60-L5169-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน
วันที่อนุมัติ 19 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตำบลทุ่งลาน
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.886,100.442place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากในเด็กนักเรียน ระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิงเกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน และยังทำให้สุขภาพไม่ดีก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศีรษะโดยมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ด้วยเหตุนี้ โดยการจัดโครงการในครั้งนี้ได้เล็งเห็นเรื่องสุขภาพอนามัยของเด็กในวัยเรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะเรื่องเหา ที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียนที่เคยเป็นแล้ว( ไม่กลับมาเป็นซ้ำ ) ข้อที่ 2เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.เด็กนักเรียนที่เคยเป็นเหาแล้วไม่กลับมาเป็นซ้ำ 2………………………………………………………. 1.นักเรียนรายใหม่ทุกคน ไม่เป็นเหา

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการต่อเทศบาลตำบลทุ่งลาน
  2. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำแผน เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ความรู้เรื่องเหา
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  5. จัดทำกิจกรรมกำจัดเหา ทุก 6 เดือน
  6. ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.จำนวนนักเรียนที่มีปัญญาเรื่องเหา ลดลง80 %จากจำนวนที่เป็นเหาเดิม 2.จำนวนนักเรียนรายใหม่ไม่เกิดเหา ร้อยละ 100 %( ไม่กลับมาเป็นซ้ำ )

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2560 15:49 น.