กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเล๊าะ เจ๊ะอาลี




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี"

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในหญิงมีครรภ์ และเด็กปฐมวัย ปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงมีครรภ์ จากการเป็นโรคปริทันต์จะส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์ และการคลอดของทารกได้ นอกจากนี้แม่ที่มีฟันผุยังส่งผลต่อการเกิดฟันผุในลูกด้วย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้

จากผลการตรวจสภาวะช่องปากของหญิงมีครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา พบว่า หญิงมีครรภ์ที่ได้รับการตรวจฟันมีฟันผุ ถึงร้อยละ 98 และมีปัญหาเหงือกอักเสบและมีหินน้ำลาย จำนวน ร้อยละ 94.82 และจากการสัมภาษณ์หญิงมีครรภ์ส่วนใหญ่ พบว่า ปัญหาดั่งกล่าวเกิดจากละเลยการดูแลเอาใจใส่ในการดูแลทำความสะอาดช่องปาก ขาดทักษะการทำความสะอาดช่องปาก การเลือกบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ และการไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วต้องทำงานหาเลี้ยงชีพไม่มีเวลาดูแลสุขภาพช่องปาก ไม่มีเวลามารับบริการทันตกรรม เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาทางทันตสุขภาพ และส่งผลต่อลูกได้

และจากผลการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กอายุ 18 เดือน และ 3 ปี พบว่า ปี 2558 เด็ก 18 เดือนมีฟันผุไปแล้วร้อยละ 5 เด็ก 3 ปีมีฟันผุมากถึงร้อยละ 45.6 และล่าสุดปี 2559 ผลจากการสำรวจจาการเด็ก 18 เดือนมีฟันผุไปแล้วร้อยละ 3.3 เด็ก 3 ปีมีฟันผุมากถึงร้อยละ 45.7 และจากสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลเด็ก พบว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่แปรงฟันก่อนนอนให้ลูก เนื่องจากดูดนมเสร็จลูกก็

หลับจึงไม่อยากรบกวนการนอนของลูก หรือไม่ก็ทำความสะอาดไม่ถูกวิธี และมีเด็กบางส่วนที่อยู่กับผู้ดูแลไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ จึงไม่ค่อยดูแลสุขภาพช่องปากเท่าที่ควร และยังพบอีกว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ให้ความใส่ใจต่อการเลือกบริโภคอาหารให้กับลูก จะตามใจลูกเป็นส่วนใหญ่ นี้เป็นปัญหาที่พบส่วนหนึ่งจากการสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขต่อไปและจาการสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลเด็ก พบว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่แปรงฟันก่อนนอนให้ลูก เนื่องจากดูดนมเสร็จลูกก็หลับจึงไม่อยากรบกวนการนอนของลูก หรือไม่ก็ทำความสะอาดไม่ถูกวิธี และมีเด็กบางส่วนที่อยู่กับผู้ดูแลไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ จึงไม่ค่อยดูแลสุขภาพช่องปากเท่าที่ควร และยังพบอีกว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ให้ความใส่ใจต่อการเลือกบริโภคอาหารให้กับลูก จะตามใจลูกเป็นส่วนใหญ่ นี้เป็นปัญหาที่พบส่วนหนึ่งจากการสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขต่อไป

เพื่อเป็นการสร้างเสริมให้แม่และเด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ทางฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอ ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญ และจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์และผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสำคัญ และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้ โดยมีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้านแกนนำอาสารักฟันมีส่วนร่วมในการให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากแก่คนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ
  2. ได้รับบริการทันตกรรมจนเสร็จสิ้น
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ
  4. เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงมีครรภ์สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ดีขึ้น และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของลูกได้ต่อไป

    2. เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการดูสุขภาพช่องปาก

    3. เพื่อให้หญิงมีครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

    4. เพื่อผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง และลูกได้จริง

    5. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูสุขภาพช่องปากตนเองและลูก

    6. ผู้ปกครองเด็กปรับและลดพฤติกรรมเสี่ยงการเลี้ยงดูที่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุในเด็ก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงมีครรภ์ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของหญิงมีครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องทันตสุขภาพ

     

    2 ได้รับบริการทันตกรรมจนเสร็จสิ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงมีครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับบริการทันตกรรมจนเสร็จสิ้น

     

    3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของผู้ปกครองของเด็กที่เข้าร่วมโครงการเด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสามารถแปรงฟันทำความสะอาดช่องปากในลูกได้

     

    4 เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของผู้ปกครองของเด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสามารถแปรงฟันทำความสะอาดช่องปากในลูกได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงมีครรภ์ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ (2) ได้รับบริการทันตกรรมจนเสร็จสิ้น (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี ในตำบลปะเสยะวอได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพ (4) เพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อ "แม่ลูกฟันดี" จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลเล๊าะ เจ๊ะอาลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด