กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน 1.1 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มหญิงตั้งครรภ์       กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลป่าบอนได้ออกบริการ  ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษาเยี่ยมหลังคลอดและแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกตรวจสุขภาพช่องปาก  จำนวน 40 คน 1.2  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมวัย
        กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครอง ฝึกแปรงฟัน ปฏิบัติบัติจริงในการฝึกทักษะการดูแลทำความสะอาดเหงือกในเด็กที่ฟันยังไม่ขึ้น ที่คลีนิกเด็กดี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร และรพ.สต.บ้านป่าบาก จำนวน 146 คน และให้บริการทาฟลูออไรด์วานิช ให้สิ่งสนับสนุนจูงใจในการทาฟูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน) จำนวน 220 คน
    1.3  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษาฝึกแปรงฟัน  ให้บริการทาฟูออไรด์วานิชและให้สิ่งสนับสนุนจูงใจในการทาฟูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่อยู่ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 428 คน 1.4  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมศึกษา     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ป.1-6 ให้ทันตสุขศึกษา  ฝึกแปรงฟัน ในโรงเรียนประถมศึกษาเขตตำบลทุ่งนารี  จำนวน 1,286 คน 1.5  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเยาวชน     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟันในโรงเรียนมัธยมศึกษา และนักเรียน ม.ต้นโรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 841 คน
    1.6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้ป่วยคลินิคโรคเรื้อรัง     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพ  ให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในรายที่จำเป็น ในคลินิคโรคเรื้อรังรพ.สต.บ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านป่าบาก รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร  จำนวน 712 คน 1.7  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้สูงอายุ     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในรายที่จำเป็นในผู้สูงอายุในหมู่บ้านที่อยู่ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 1003 คน 1.8  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้พิการ     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน  ได้ออกบริการออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหวิชาชีพ  ตรวจสุขภาพช่องปาก  ให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน สนับสนุนแปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 40 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ ANC ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์ ร้อยละ๘๕

 

2 ควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม ( comprehensivecare )
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๘๐ของเด็ก ๙ – ๑๒ เดือนและ ๑๘ – ๒๔ เดือน ได้รับการดูแลด้านทันตสุขภาพโดยผู้ดูแลหลัก 2.ร้อยละ ๘๐ ของเด็ก ๓ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมดูแลด้านทันตสุขภาพโดยผู้ดูแลเด็กและชุมชน 3.ร้อยละ ๙๐ ของเด็กนักเรียนชั้น ป.๑ – ๖ ได้รับการตรวจและบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 428
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,127
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,003
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 712
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (2) ควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม
( comprehensivecare )

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh