กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มกราคม 2562 ถึง 30 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มกราคม 2562 - 30 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสถานการณ์การเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ เริ่มมีความชุกค่อนข้างสูงและนำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนที่เรื้อรังและรุนแรงได้เช่นภาวะหลอดเลือดตีบแข็งความดันโลหิตสูงจอประสาทตาเสื่อมไตวายโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดร่วมกับเป็นแผลเรื้อรังติดเชื้อได้ง่ายซึ่งเป็นสาเหตุที่สำคัญที่ทำให้เกิดความพิการหลายประการได้แก่ตาบอด หรือถูกตัดขาซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา เช่นทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมรวมทั้งปัญหาเศรษฐกิจของครอบครัวทำให้ญาติผู้เกี่ยวข้องต้องแบกภาระในการติดตามดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องและตลอดชีวิตของผู้ป่วยทำให้เกิดการขาดรายได้ในการประกอบอาชีพเพื่อหาเลี้ยงครอบครัวซึ่งหากผู้ป่วยและครอบครัวไม่มีความเข้าใจในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ผู้ป่วยกำลังเชิญอยู่ร่วมกับให้การดูแลผู้ป่วยไม่ถูกต้องปัญหาต่างๆดังกล่าวรวมถึงภาวะแทรกซ้อนก็อาจเกิดขึ้นได้ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกให้อยู่ในภาวะปกติได้ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไป จากสภาพพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวรับผิดชอบ 3 หมู่บ้านประชาการ2,629 คนความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี2561เป็น 46.35/พันประชากร ตามลำดับอัตราการเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ร้อยละ 0.63 ซึ่งสูงขึ้นเรื่อยๆมีผู้ป่วยแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานจำนวน5 รายส่วนโรคความดันโลหิตสูงความชุกของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงปี2561เป็น 191.05/พันประชากรอัตราการเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ร้อยละ 2.68ซึ่งสูงขึ้นเรื่อยๆมีผู้ป่วยแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงคัดเลือกมาจำนวน5 รายซึ่งสาเหตุการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากระหว่างที่ผู้ป่วยยังเป็นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองขณะเป็นโรคไมถูกต้องและขาดความตระหนักในการดูแลตนเองเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นกับผู้ป่วยจึงไม่สามารถแก้ไขให้อยู่ในสภาวะปกติได้ก่อให้เกิดปัญหาด้านสาธารณสุขต่างๆ ในเรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวจึงเห็นว่าการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนโดยคิดหาวิธีการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลร่วมรับรู้ในการแก้ไขปัญหาร่วมกันในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ซึ่งใช้วิธีให้ผู้ป่วยและญาติเข้ามามีส่วนร่วมดูแลให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีความต่อเนื่องโดยมีกิจกรรมการออกกำลังกายการรับประทานอาหารการตรวจเลือดสม่ำเสมอให้ผู้ป่วยและญาติเกิดการเรียนรู้อย่างเข้าใจอยากทำทำได้ซึ่งการออกกำลังกายจะเป็นการช่วยกระตุ้นการนำน้ำตาลเข้าสู่เซลเนื้อเยื่อมากขึ้นและช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดลงและการทำให้ระดับความเครียดลดลงจะช่วยให้ระดับน้ำตาลไม่เพิ่มขึ้นร่วมกับการนำสมุนไพรที่มีรสฝาดเปรี้ยวและเค็มมาต้มและทำให้ร้อนหรืออุ่นพอดีโดยนำมาแช่มือแช่เท้าจะช่วยให้มีการกระตุ้นการไหลเวียนและการทำงานของระบบประสาทส่วนปลายให้ดีขึ้นทุเลาอาการชาปลายมือปลายเท้าลงและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลซึ่งเริ่มจากการสร้างความตระหนักให้กับผู้ป่วยร่วมกับญาติและฝึกทักษะกิจกรรมในการดูแลตนเองเพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายอื่นๆต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวานให้ถูกต้องและมีความเหมาะสมกับโรค ร่วมกับป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงให้กับผู้ป่วยเบาหวานโดยให้ญาติผู้ดูแลมีส่วนร่วม ร้อยละ 50

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานการดูแลตนเองขณะเป็นโรคให้ผู้ป่วยและญาติในข้อมูลที่ยังไม่สมบูรณ์หลังจากที่ได้สรุปปัญหาและปัจจัยในการปฏิบัติตัวต่างๆ ซึ่งจะให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องขณะเป็นโรคพยาธิสภาพของโรคการดำเนินของโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อเนื่อง
  3. สามารถนำรูปแบบกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบวิถีไทมาใช้กับผู้ป่วยเบาหวานได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานการดูแลตนเองขณะเป็นโรคให้ผู้ป่วยและญาติในข้อมูลที่ยังไม่สมบูรณ์หลังจากที่ได้สรุปปัญหาและปัจจัยในการปฏิบัติตัวต่างๆ ซึ่งจะให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องขณะเป็นโรคพยาธิสภาพของโรคการดำเนินของโรค

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผุ้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  จำนวน  10  คน  และญาติ  จำนวน  10  คน  ได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  การปฏิบัติตัว  ถูกต้องเหมาะสมกับโรค  ร่วมกันป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคโรคความดันโลหิตสูง  โดยญาติผู้ดูแลมีส่วนร่วม 2.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคเบาหวานพบว่าผู้ป่วยควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดี  ร้อยละ 56 3.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงพบว่าผู้ป่วยควบคุมความดันโลหิตได้ดี  ร้อยละ 50

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวานให้ถูกต้องและมีความเหมาะสมกับโรค ร่วมกับป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงให้กับผู้ป่วยเบาหวานโดยให้ญาติผู้ดูแลมีส่วนร่วม ร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 10 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวและดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวานให้ถูกต้องและมีความเหมาะสมกับโรค  ร่วมกับป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงให้กับผู้ป่วยเบาหวานโดยให้ญาติผู้ดูแลมีส่วนร่วม ร้อยละ 50

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานการดูแลตนเองขณะเป็นโรคให้ผู้ป่วยและญาติในข้อมูลที่ยังไม่สมบูรณ์หลังจากที่ได้สรุปปัญหาและปัจจัยในการปฏิบัติตัวต่างๆ ซึ่งจะให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องขณะเป็นโรคพยาธิสภาพของโรคการดำเนินของโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด