กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มกราคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มกราคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ช่องปากเปรียบเสมือนประตูแห่งสุขภาพที่ลูกจะได้รับอาหารเข้าสู่ร่างกายฟันทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารลูกจะมีความสุขในการรับประทานอาหารหลากหลายชนิดถ้ามีสุขภาพฟันดีการที่ปล่อยให้ฟันน้ำนมไม่ได้รับการรักษาฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาททำให้ปวดฟันลูกจะไม่ได้รับสารอาหารครบถ้วนเนื่องจากพยายามเลี่ยงรับประทานอาหารบางชนิดเพราะปวดฟันการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในสภาวะโรคฟันผุในเด็กอายุ ๓ ปีหรือเด็กเล็กในระดับประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้นพบว่าวัย 24- 36 เดือนเป็นช่วงเวลาที่เด็กอาศัยอยู่กับครอบครัวที่บ้านหน่วยบริการสาธารณสุขโดยเฉพาะโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลศูนย์ไม่มีโอกาสได้พบเด็กในช่วงวัยนี้จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยบริการย่อยคือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่จะต้องให้ความรู้ คำแนะนำข้อมูลต่างๆและคอยดูแลสุขภาพภายในช่องปากเด็กปฐมวัยให้กับผู้ปกครอง โรคฟันผุในเด็กเป็นการถูกทำลายฟันน้ำนมซึ่งลุกลามเข้าถึงโพรงประสาทฟันส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของเด็กทั้งร่างกายและจิตใจโดยฟันทำหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหารเสริมบุคลิกภาพให้มีใบหน้าที่สวยงามมีการส่งเสียงพูดชัดสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง พฤติกรรมการกินของเด็กไทยในปัจจุบันพบว่าเด็กมีภาวะฟันผุมีพฤติกรรมการกินที่ส่งผลให้เกิดฟันผุเพิ่มขึ้นเช่นการติดขวดนมกินขนมหวานชอบรับประทานขนมถุงชอคโกแลตซึ่งหากผู้ปกครองปล่อยปละละเลยจะทำให้เด็กฟันผุได้มากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงและกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายได้ตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพภายในช่องปากในเด็กปฐมวัยในกลุ่มอายุ 24-36 เดือนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงายเพื่อป้องกันและลดปัญหาโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบมีสุขภาพฟันที่ดี ผู้ปกครองเด็กมีความรู้สามารถ ตระหนักในการ ดูแลฟันน้ำนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเฝ้าระวังสุขภาพในช่องปากแก่เด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมและคัดกรองสุขภาพในช่องปากและประกวด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กอายุ 24 –36 เดือนที่เข้าร่วมโครงการเด็กปฐมวัยใจใจฟันน้ำนมมีสุขภาพในช่องปากดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมและคัดกรองสุขภาพในช่องปากและประกวด

วันที่ 10 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้
2.ประกวดสุขภาพในช่องปาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว  ตำบลโคกชะงาย  อำเภอเมืองพัทลุง  จังหวัดพัทลุง  จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบ  มีสุขภาพฟันที่ดี  และเพื่อเฝ้าระวังสุขภาพในช่องปากแก่เด็กปฐมวัย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบมีสุขภาพฟันที่ดี ผู้ปกครองเด็กมีความรู้สามารถ ตระหนักในการ ดูแลฟันน้ำนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเฝ้าระวังสุขภาพในช่องปากแก่เด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของเด็กอายุ 24-36 เดือนเข้าร่วมโครงการ ฯ
2.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบมีสุขภาพฟันที่ดี ผู้ปกครองเด็กมีความรู้สามารถ ตระหนักในการ ดูแลฟันน้ำนมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเฝ้าระวังสุขภาพในช่องปากแก่เด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและคัดกรองสุขภาพในช่องปากและประกวด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปฐมวัยใส่ใจฟันน้ำนม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด