กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับนิด สะกิดหน่อย ค่อยค่อยเปลี่ยน 2
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะนาเระ
วันที่อนุมัติ 12 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศศิธร ยอดศรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
2.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันตำบลท่าข้ามมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 231 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 28 ราย และโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานจำนวน 55 ราย ซึ่งมีอัตราป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานปีงบประมาณ 2561 พบประชาชนอายุตั้งแต่35 ปี เป็นกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 40.97 เสี่ยง/สงสัยต่อโรคเบาหวาน ร้อยละ 23.22 ซึ่งกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีการติดตามเป็นระยะ บางรายได้รับการส่งต่อและวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานแล้วดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะนาเระตระหนักถึงความสำคัญในการเฝ้าระวังการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วย และการค้นหากลุ่มเสี่ยง/ป่วยรายใหม่ จึงได้ดำเนินโครงการเพื่อติดตามอย่างต่อเนื่อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

1.00 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

2.00 2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,000.00 0 0.00
??/??/???? ปรับนิด สะกิดหน่อย ค่อยค่อยเปลี่ยน 2 0 27,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือดได้ และได้รับการดูแลติดตามต่อเนื่องตามมาตรฐาน 2.กลุ่มสงสัยป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ ได้รับการส่งต่ออย่างเหมาะสม 3.อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานรายใหม่ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2561 00:00 น.