กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
หมู่ที่ 1 หมูที่ 7 ม.9 ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 หมูที่ 7 ม.9 ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กรกฎาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 หมูที่ 7 ม.9 ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 หมูที่ 7 ม.9 ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-02-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤศจิกายน 2561 - 30 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้เป็นโรคที่เป็นปัญหาเร่งด่วนของประเทศ จากรายงานการเฝ้าระวังโรคของกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุงพบว่า (มกราคม – ธันวาคม๒๕๕๖๑)จังหวัดพัทลุงมีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นอันดับที่ต้นๆของประเทศและอำเภอเมืองพัทลุงมีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นอันดับที่ ๒ของจังหวัดพัทลุงมีจำนวนผู้ป่วย ๒๔๒รายโดยพบผู้ป่วยมากที่ตำบลพญาขันควนมะพร้าวเขาเจียกลำปำชัยบุรีท่ามิหรำส่วนตำบลโคกชะงายมีผู้ป่วยจำนวน๑๐รายคิดเป็นอัตราป่วย๓๗๑.๔๗ /๑๐๐,๐๐๐ประชากร สำหรับในพื้นที่รับผิดชอบของหมู่ที่ ๑,๗,๙ตำบลโคกชะงายมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี๒๕๕๙จำนวน ๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย๒๖๖.๒๖ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๐ จำนวน ๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๙๐.๔๐ ต่อแสนประชากร ปี๒๕๖๑มีผู้ป่วย๙รายคิดเป็นอัตราป่วย๓๓๔.๓๒ต่อแสนประชากรไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต (ข้อมูลระบาดวิทยาสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองพัทลุง) ขณะที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุงกำหนดเป้าหมายอัตราป่วย๘๐ ต่อแสนประชากรจากการศึกษาการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก๓ปีย้อนหลังคาดว่าในปี ๒๕๖๒มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกขึ้นมาอีกดังนั้นในการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้หยุดการระบาดได้นั้นต้องรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักตื่นตัวต้องตรวจสอบค้นหาแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบริเวณบ้านของตนเองต้องช่วยกันรับผิดชอบตัวเองครอบครัวและชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนหนาแน่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายมักพบภายในบ้านหรือบริเวณบ้าน และเป็นภาชนะที่มีน้ำขังได้ เช่น อ่างน้ำ โอ่งน้ำ แจกัน ยางรถยนต์จานรองขาตู้กับข้าว ฯลฯ ซึ่งการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ ต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนทั่วไป องค์กรท้องถิ่นผู้นำชุมชนและประเด็นสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือป้องกันไม่ให้ยุงกัดเพราะเนื่องจากยุงลายสวนสามารถนำโรคไข้เลือดออกได้ด้วยซึ่งสามารถป้องกันได้โดยทายากันยุงหรือสวมใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด ดังนั้นเพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ และสามารถควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจึงรวมพลังกันรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ทุกหลังคาเรือนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมี ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  3. เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายต่อหลังคาเรือนไม่เกิน๑๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.ประชาชนส่วนราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรกำนัน/ผู้ใหญ่บ้านมีส่วนร่วมในการดำเนินป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนตลอดถึงประชาชนสามารถดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจาก โรคไข้เลือดออกได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยความร่วมมือทุกภาคส่วนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ

 

59 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ทุกหลังคาเรือนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหลังคาเรือนมีการที่มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
626.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมี ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
2154.00

 

3 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายต่อหลังคาเรือนไม่เกิน๑๐
ตัวชี้วัด : ค่า CI ไม่เกิน 10
9.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทุกหลังคาเรือนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมี ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายต่อหลังคาเรือนไม่เกิน๑๐

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด