กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ต.เจ๊ะบิลัง อ.เมือง จ.สตูล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 006/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 006/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เป็นกระบวนการซึ่งต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม ในการสร้างความร่วมมือ ผลักดันกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้สถานะสุขภาพประชาชนตามกลุ่มวัยมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจและอารมณ์ อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข แต่ละกลุ่มในระบบสุขภาพมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ตั้งแต่กลุ่มเด็ก สตรีและหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเริ่มต้นพัฒนาการครอบครัว , กลุ่มเด็กวัยเรียน เป็นช่วงพัฒนาการทางสมอง พฤติกรรม การเรียนรู้บทบาททางสังคม รวมถึงโรคติดต่อที่เกิดขึ้นได้บ่อย เช่น ไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก , กลุ่มวัยวัยรุ่นและเยาวชน เป็นช่วงที่สร้างเอกลักษณ์ตนเอง มีความเชื่อมั่น ศรัทธาในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่ดีงาม และเป็นอนาคตของชาติ นอกจากนี้มีโอกาสในการติดสารเสพติดจากปัจจัยทางสังคมได้ เช่น มีร้านค้าขายบุหรี่และแอลกอฮอล์อย่างอิสระในชุมชน , กลุ่มวัยทำงาน เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บป่วยจากการทำงาน โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเมื่อพิจารณาจากสถิติสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ พบว่า จำนวนผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน โรคหลอดเลือดสมอง มีจำนวนเพิ่มขึ้น รวมถึงผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในแต่ละปี แม้วิวัฒนาการทางการแพทย์จะก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว และมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่จำหน่ายในชุมชน ซึ่งโรคดังกล่าวนี้มักเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มนี้โดยตรง หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ผู้ที่เสี่ยงจะกลายเป็นผู้ป่วยในที่สุด ทำให้เพิ่มภาระในการดูแล รักษา และสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก , กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ เป็นกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง และถูกมองว่าเป็นภาระของครอบครัว หากสามารถพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ดูแลตนเองได้ตามสภาพการเจ็บป่วย ก็จะไม่เป็นภาระของครอบครัวและสังคม และยังเป็นการส่งเสริมพลังทางใจให้มีคุณค่าต่อชุมชนได้มาก เพราะผู้สูงอายุบางรายมีความสามารถในการทำกิจกรรมทางสังคม และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนได้อีกยาวนาน ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มวัยต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นอย่างเป็นระบบ สอดคล้อง และต่อเนื่อง จะเป็นการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดโรคก่อนวัยอันควร มีพัฒนาการครอบครัวเหมาะสม มีวิถีชีวิตที่เหมาะสม พอเพียง ส่งผลต่อชุมชนในการสร้างสุขอย่างแท้จริง
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๖ บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนา การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของกลุ่มวัยต่างๆ อย่างต่อเนื่องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ โดยมุ่งเน้นให้กลุ่มวัยต่างๆ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ รวมถึงสร้างกระแสสุขภาพที่เหมาะสม ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  2. เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑ กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง ๒ กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน ๓ กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมและพัฒนาการเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กปฐมวัย และแกนนำครอบครัว

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    30 33

    2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการดูแลสุขภาพในช่วงวัย การป้องกันสารเสพติดและทักษะการปฏิเสธในเด็กวัยเรียน วัยรุ่นและเยาวชนในชุมชน

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    100 100

    3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลตนเองตามหลัก 3อ2ส สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ดูแล

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    50 50

    4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก วัณโรค และการคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับแกนนำครอบครัว

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    100 100

    5. มหกรรมแม่ลูกสุขภาพดีวิถีไทย

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    150 160

    6. มหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    300 300

    7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพในแต่ละช่วงวัยและทักษะการตรวจฟัน แปรงฟัน ทาฟลูออไรด์ ในผู้ปกครองเด็ก 0 - 3 ปี

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

     

    120 125

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    2. กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    3. กลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง

     

    2 เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง (2) เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านสุขภาพตามกลุ่มวัยในวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 006/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรม อสม. หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ต.เจ๊ะบิลัง อ.เมือง จ.สตูล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด