โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2559
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทศไทยทั้งในเขต และชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบสูงสุดในฤดูฝน จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 - 2559) กำหนดให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน และค่า HI ในชุมชน ไม่เกิน 10 และค่า CI ในโรงเรียน ศาสนาสถาน และหน่วยงานเท่ากับ 0
ในส่วนของตำบลบาเจาะในปี พ.ศ.2558 มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 9 ราย ต่อัตราป่วย 121.22 ประจำปี 2558 ค่า HI,CI เป็นดังนี้ 25,37.00,ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ชุมชนมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคในปีต่อไปอาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคสูงขึ้น
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆ ในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน ซึ่งกิจกรรมต่างๆ นี้เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่วไปทั้งสิ้น ชุมชนควรตระหนัก ดห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดการรับผิดชอบร่วมกันในหมู่บ้า่นส่งผลให้การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหมดไปในที่สุด
ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน
- 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
- 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
8,578
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
- อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะในการควบคุมและป้องกันโรคไข้ลือดออก
- สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
)1. ผลการดำเนินงาน
ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ มีความประสงค์จะจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2559 โดยขอรับการสนับสนุุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ เป็นเงิน 54,650 บาท (เงินห้าหมื่นสี่พันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดโครงการดังนี้
ส่วนที่ 1 : รายละเอียดโครงการ
หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทษไทยทั้งในเขตเมือง และชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบสูงสุดในฤดูฝน จากแผนพัฒนาเศรษ,ฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ (2555-2559) กำหนดให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน และค่า Hi ในชุมชนไม่เกิน 10 และค่า Ci ในโรงเรียน ศาสนาสถาน และหน่วยงาน เท่ากับ 0
ในส่วนของตำบลบาเจาะ ในปี พ.ศ.2558 มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 9 ราย ต่ออัตราป่วย 121,22 ประจำปี 2558 ค่า Hi , Ci เป็นดังนี้ 25,37.00, ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ชุมชนมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรค ในปีต่อไปอาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคสูงขึ้น
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดให้ได้ผลนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมจากทุกฝ่ายทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆ ในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน วึ่งกิจกรรมต่างๆ นี้ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั้วไปทั้งสิ้น ชุมชนควรตระหนักเห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดการรับผิดชอบร่วมกันในหมู่บ้านส่งผลให้การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหมดไปในที่สุด
ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น
จากการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2559 จำนวนบ้าน 1,482 หลังคาเรือน และโรงเรียน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการพ่นหมอกควันในหมู่บ้านที่มีการระบาดของโรคและโรงเรียนทุกแห่ง โดยจ้างหน่วยงานควบคุมดรคไข้มาลาเรียน (นคม.)ในการพ่นหมอกควันและให้ อสม.สำรวจและทำลายแหลงเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1,482 หลังคาเรือนและโรงเรียนทุกแห่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของอัตราการลดโรคไข้เลือดออกของประชากร
2
2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของการลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
3
3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่ได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
8578
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
8,578
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน (2) 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (3) 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสันต์เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ
กันยายน 2559
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทศไทยทั้งในเขต และชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบสูงสุดในฤดูฝน จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (2555 - 2559) กำหนดให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน และค่า HI ในชุมชน ไม่เกิน 10 และค่า CI ในโรงเรียน ศาสนาสถาน และหน่วยงานเท่ากับ 0
ในส่วนของตำบลบาเจาะในปี พ.ศ.2558 มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 9 ราย ต่อัตราป่วย 121.22 ประจำปี 2558 ค่า HI,CI เป็นดังนี้ 25,37.00,ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ชุมชนมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคในปีต่อไปอาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคสูงขึ้น
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆ ในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน ซึ่งกิจกรรมต่างๆ นี้เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่วไปทั้งสิ้น ชุมชนควรตระหนัก ดห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดการรับผิดชอบร่วมกันในหมู่บ้า่นส่งผลให้การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหมดไปในที่สุด
ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน
- 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
- 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 8,578 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
- อาสาสมัครสาธารณสุขมีทักษะในการควบคุมและป้องกันโรคไข้ลือดออก
- สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
)1. ผลการดำเนินงาน ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ มีความประสงค์จะจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2559 โดยขอรับการสนับสนุุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะ เป็นเงิน 54,650 บาท (เงินห้าหมื่นสี่พันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดโครงการดังนี้ ส่วนที่ 1 : รายละเอียดโครงการ หลักการและเหตุผล โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทษไทยทั้งในเขตเมือง และชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบสูงสุดในฤดูฝน จากแผนพัฒนาเศรษ,ฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ (2555-2559) กำหนดให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน และค่า Hi ในชุมชนไม่เกิน 10 และค่า Ci ในโรงเรียน ศาสนาสถาน และหน่วยงาน เท่ากับ 0 ในส่วนของตำบลบาเจาะ ในปี พ.ศ.2558 มีผู้ป่วยทั้งสิ้น 9 ราย ต่ออัตราป่วย 121,22 ประจำปี 2558 ค่า Hi , Ci เป็นดังนี้ 25,37.00, ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ชุมชนมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรค ในปีต่อไปอาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคสูงขึ้น ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดให้ได้ผลนั้น จำเป็นต้องได้รับความร่วมจากทุกฝ่ายทั้งชุมชน ครู นักเรียน องค์กรต่างๆ ในชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชน วึ่งกิจกรรมต่างๆ นี้ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั้วไปทั้งสิ้น ชุมชนควรตระหนักเห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดการรับผิดชอบร่วมกันในหมู่บ้านส่งผลให้การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงและหมดไปในที่สุด ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น จากการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2559 จำนวนบ้าน 1,482 หลังคาเรือน และโรงเรียน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการพ่นหมอกควันในหมู่บ้านที่มีการระบาดของโรคและโรงเรียนทุกแห่ง โดยจ้างหน่วยงานควบคุมดรคไข้มาลาเรียน (นคม.)ในการพ่นหมอกควันและให้ อสม.สำรวจและทำลายแหลงเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1,482 หลังคาเรือนและโรงเรียนทุกแห่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของอัตราการลดโรคไข้เลือดออกของประชากร |
|
|||
2 | 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของการลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนที่ได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 8578 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 8,578 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน (2) 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (3) 3. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันและรักษาที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสันต์เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......