ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานี ดอเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี พบว่า ผลการดำเนินงานใน
ภาพรวมของชุมชนดาริงใต้ ม.4 ตำบลตุยง ปีงบประมาณ 2559 ผลของความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1ปี ได้แก่ วัคซีน BCG ร้อยละ 92 , DTB-HB3 , OPV3 ร้อยละ 60.77 และ MMR1 60.77 , เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 , OPV4 ร้อยละ 66.65และJE2 66.65 , เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีน J3 ร้อยละ 67.59 , MMR2 ร้อยละ67.59และเด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 , OPV5 ร้อยละ 47.73 ตามลำดับ (ข้อมูลจากทะเบียนวัคซีน) จากรายงานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงอายุหรือบางรายไม่ได้รับวัคซีน ทำให้มีโอกาสเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขึ้น ได้แก่ โรคคอตีบ โรคหัด และโรคไอกรน เป็นต้น
จากการวิเคราะห์และสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง พบว่า สาเหตุการได้รับวัคซีนในเด็กไม่ครบตาม
เกณฑ์หรือไม่ได้รับ เนื่องจากผู้ปกครองต้องไปประกอบอาชีพชายแดนมาเลเซียหรือต่างจังหวัด ทำให้ขาดนัดการได้รับวัคซีน กลัวเด็กจะมีไข้ทำให้ผู้ปกครองต้องหยุดงานและขาดรายได้ รวมทั้งเด็กอาศัยอยู่กับญาติผู้ใหญ่ซึ่งมีความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนทำให้ไม่พาบุตรหลานมาฉีด จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบในระยะยาวต่อกลุ่มเป้าหมายเด็กในชุมชนตำบลตุยง ดังนั้นคณะทำงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของตำบลตุยงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี และลดอัตราป่วยการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการติดตามเด็กที่ฉีดวัคซีนไม่ครบหรือไม่ได้รับ รวมทั้งสำรวจเด็กที่เกิดใหม่หรือย้ายเข้าและย้ายออกเพื่อจัดทำฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน เพื่อความสะดวกในการติดตามและให้ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- . เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีในชุมชนได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับวัคซีน
- คนในชุมชนเกิดความตระหนักโดยการพาบุตรมาฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น และมีระบบติดตามเด็ก
- เกิดระบบการทำงานเป็นเครือข่ายในการดูแลระบบสุขภาพของชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
ดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังนี้
- เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
สรุปผลการดำเนินงาน
มีการดำเนินงานงานกิจกรรมในพื้นที่โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข บ้านดาริง ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพอื่นๆ โรงพยาบาลหนองจิก ตามขั้นตอนการดำเนินงาน
- มีการจัดทำเวทีประชาคมในชุมชน โดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อรับทราบข้อมูลเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ เพื่อติดตามและร่วมกันแก้ไขปัญหาเรื่องวัคซีนในพื้นที่ 18 สิงหาคม 2560
- ประชุมผู้ปกครองเด็กที่ขาดนัดการฉีดวัคซีนหรือไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนและให้บริการวัคซีนแก่
เด็กในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 25 สิงหาคม 2560
ครั้งที่ 2 วันที่ 22 กันยายน 2560
- อาสาสมัครสาธารณสุขติดตามเด็กขาดนัดและเจ้าหน้าที่ให้บริการวัคซีนเชิงรุก ตั้งแต่ ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 ตลอดทั้งปี
จากการสำรวจพบว่าจำนวนเด็ก 0 – 5 ปี ในหมู่บ้านทั้งหมด 102 คน
ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........70............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม จัดทำเวทีประชาคมในชุมชน
22 คน x 90 บาท เป็นเงิน 1,980.- บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ประชุมผู้ปกครองเด็ก ครั้งที่ 1
45 คน x 90 บาท เป็นเงิน 4,050.- บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ประชุมผู้ปกครองเด็ก ครั้งที่ 2
45 คน x 90 บาท เป็นเงิน 4,050.- บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- ประชาชน หรือผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่อยู่ในพื้นที่ ทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน
- ค่านิยมของประชาชนในพื้นที่ไม่ตระหนักเรื่องวัคซีน
- ประชาชน ผู้ปกครองเชื่อในข้อห้ามของผู้สูงอายุ หรือเชื่อในสิ่งที่ผิดๆเกี่ยวกับวัคซีน
- ประชาชนไม่ชอบพาลูกไปรับวัคซีนที่ รพ.แต่ ยินดีให้ลูกฉีดหากเจ้าหน้าที่เข้ามาในชุมชน
แนวทางการแก้ไข
- อบรม สุขศึกษา ให้ความรู้เรื่องวัคซีน อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกเป้าหมาย เพราะ วัคซีนไม่ใช่เป็นเรื่องของเด็กเท่านั้น
- รณรงค์วัคซีน และรุกชุมชน อย่างต่อเนื่อง
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่ทุกครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90%
2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก
2
. เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90%
2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก
3
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90%
2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) . เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรอฮานี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานี ดอเลาะ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี พบว่า ผลการดำเนินงานใน
ภาพรวมของชุมชนดาริงใต้ ม.4 ตำบลตุยง ปีงบประมาณ 2559 ผลของความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1ปี ได้แก่ วัคซีน BCG ร้อยละ 92 , DTB-HB3 , OPV3 ร้อยละ 60.77 และ MMR1 60.77 , เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 , OPV4 ร้อยละ 66.65และJE2 66.65 , เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีน J3 ร้อยละ 67.59 , MMR2 ร้อยละ67.59และเด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 , OPV5 ร้อยละ 47.73 ตามลำดับ (ข้อมูลจากทะเบียนวัคซีน) จากรายงานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงอายุหรือบางรายไม่ได้รับวัคซีน ทำให้มีโอกาสเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขึ้น ได้แก่ โรคคอตีบ โรคหัด และโรคไอกรน เป็นต้น
จากการวิเคราะห์และสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง พบว่า สาเหตุการได้รับวัคซีนในเด็กไม่ครบตาม
เกณฑ์หรือไม่ได้รับ เนื่องจากผู้ปกครองต้องไปประกอบอาชีพชายแดนมาเลเซียหรือต่างจังหวัด ทำให้ขาดนัดการได้รับวัคซีน กลัวเด็กจะมีไข้ทำให้ผู้ปกครองต้องหยุดงานและขาดรายได้ รวมทั้งเด็กอาศัยอยู่กับญาติผู้ใหญ่ซึ่งมีความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนทำให้ไม่พาบุตรหลานมาฉีด จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบในระยะยาวต่อกลุ่มเป้าหมายเด็กในชุมชนตำบลตุยง ดังนั้นคณะทำงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของตำบลตุยงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี และลดอัตราป่วยการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการติดตามเด็กที่ฉีดวัคซีนไม่ครบหรือไม่ได้รับ รวมทั้งสำรวจเด็กที่เกิดใหม่หรือย้ายเข้าและย้ายออกเพื่อจัดทำฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน เพื่อความสะดวกในการติดตามและให้ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- . เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 45 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีในชุมชนได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และไม่เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับวัคซีน
- คนในชุมชนเกิดความตระหนักโดยการพาบุตรมาฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น และมีระบบติดตามเด็ก
- เกิดระบบการทำงานเป็นเครือข่ายในการดูแลระบบสุขภาพของชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน ดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังนี้
- เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่ สรุปผลการดำเนินงาน มีการดำเนินงานงานกิจกรรมในพื้นที่โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข บ้านดาริง ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพอื่นๆ โรงพยาบาลหนองจิก ตามขั้นตอนการดำเนินงาน
- มีการจัดทำเวทีประชาคมในชุมชน โดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อรับทราบข้อมูลเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ เพื่อติดตามและร่วมกันแก้ไขปัญหาเรื่องวัคซีนในพื้นที่ 18 สิงหาคม 2560
- ประชุมผู้ปกครองเด็กที่ขาดนัดการฉีดวัคซีนหรือไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนและให้บริการวัคซีนแก่ เด็กในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 25 สิงหาคม 2560 ครั้งที่ 2 วันที่ 22 กันยายน 2560
- อาสาสมัครสาธารณสุขติดตามเด็กขาดนัดและเจ้าหน้าที่ให้บริการวัคซีนเชิงรุก ตั้งแต่ ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 ตลอดทั้งปี จากการสำรวจพบว่าจำนวนเด็ก 0 – 5 ปี ในหมู่บ้านทั้งหมด 102 คน ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........70............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม จัดทำเวทีประชาคมในชุมชน
22 คน x 90 บาท เป็นเงิน 1,980.- บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ประชุมผู้ปกครองเด็ก ครั้งที่ 1
45 คน x 90 บาท เป็นเงิน 4,050.- บาท
- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ประชุมผู้ปกครองเด็ก ครั้งที่ 2
45 คน x 90 บาท เป็นเงิน 4,050.- บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- ประชาชน หรือผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่อยู่ในพื้นที่ ทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน
- ค่านิยมของประชาชนในพื้นที่ไม่ตระหนักเรื่องวัคซีน
- ประชาชน ผู้ปกครองเชื่อในข้อห้ามของผู้สูงอายุ หรือเชื่อในสิ่งที่ผิดๆเกี่ยวกับวัคซีน
- ประชาชนไม่ชอบพาลูกไปรับวัคซีนที่ รพ.แต่ ยินดีให้ลูกฉีดหากเจ้าหน้าที่เข้ามาในชุมชน
แนวทางการแก้ไข
- อบรม สุขศึกษา ให้ความรู้เรื่องวัคซีน อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทุกเป้าหมาย เพราะ วัคซีนไม่ใช่เป็นเรื่องของเด็กเท่านั้น
- รณรงค์วัคซีน และรุกชุมชน อย่างต่อเนื่อง
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่ทุกครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90% 2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก |
|
|||
2 | . เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90% 2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก |
|
|||
3 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 1. เด็กในชุมชนได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90% 2. เด็กในชุมชนไม่เกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน ได้แก่ คอตีบ, ไอกรนและโรคหัดในเด็ก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 45 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) . เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีน (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือให้บริการเชิงรุกพร้อมกับเจ้าหน้าที่ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ร่วมใจพาลูกน้อยฉีดวัคซีนในชุมชนดาริง ม.4 ตำบลตุยง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรอฮานี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......