กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป
รหัสโครงการ 2560-50102-7(4)-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 31 มกราคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป
พี่เลี้ยงโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.538,101.235place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 14 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นองค์กรของรัฐ ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2545 มีภารกิจหลักในการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน และด้วยการบริหารจัดการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามมารถตรวจสอบได้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน นอกจากนี้ สปสช. ได้พัฒนาโครงสร้างการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าระดับพื้นที่ โดยจัดตั้งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อดำเนินงานร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วยความสัมพันธ์ ในฐานะสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสาขาจังหวัด ทั้งนี้เพื่อก้าวไปให้ถึงจุดมุ่งหมายตามวิสัยทัศน์ขององค์กร คือมีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงด้วยความมั่นใจและผู้ให้บริการมีความสุข กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าสาป เป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชนในการผลักดันการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน มีโครงสร้างของคณะกรรมการบริหารกองทุนที่มาจากภาคประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพกรรมการฯ จึงมีความจำเป็นที่ช่วยให้การการทำงานมีความสะดวก รวดเร็ว เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าอาหาร ค่าวัสดุอุปกรณ์และการจัดหาครุภัณฑ์ต่างๆ เพื่อความคล่องตัวและรวดเร็วในการทำงาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ ๗ (๔) สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพและจ่ายค่าตอบแทนกรรมการทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑5 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเป็นค่าตอบแทน ค่ารับรองคณะกรรมการกองทุน และผู้เข้าร่วมประชุม

 

2 2. เพื่อค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความจำเป็นในการดำเนินงาน

 

3 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนฯ

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เขียนโครงการขออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. เบิกค่าตอบแทนคณะกรรมการและอนุกรรมที่เข้าประชุม
  3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และจัดซื้อครุภัณฑ์ต่างๆ ที่จำเป็น
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เป็นค่าตอบแทน ค่ารับรองคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการและผู้เข้าร่วมประชุม 2.สามารถจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความจำเป็นในการดำเนินงานทำให้มีความคล่องตัวขึ้น 3.สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนฯ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2560 10:39 น.