กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเพื่อห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ปะเสยะวอ
วันที่อนุมัติ 7 ธันวาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลเล๊าะ เจ๊ะอาลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.733,101.606place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการดำเนินงาน โดยมุ่งเน้นสร้างคนไทยให้แข็งแรง ให้ความสำคัญกับการพัฒนาประชาชนทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค โดยสามารถพึ่งตนเองได้ และส่งเสริมพัฒนาประชาชนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นและเหมาะสมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานดูแลป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชนเอง

จากการดำเนินงานการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน 2558 พบประชาชนอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน 225 คน คิดเป็นร้อยละ 6.72 กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน

22 คน คิดเป็นร้อยละ 0.66

ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ในกลุ่มเสี่ยงเพื่อห่างไกลโรคเบาหวาน ปี 2559 โดยการมีส่วนร่วม อสม. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ได้รับการส่งเสริม ควบคุมและป้องกันการเป็นโรคโรคเบาหวาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ร้อยละ50ของกลุ่มเสี่ยงโรคหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดตั้งคระกรรมการ NCD Bord ระดับตำบล

  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

  3. อบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 3 รุ่น ๆ ละ 40 คน โดยมีกิจกรรมดังนี้

  • การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 3 อ 2 ส

  • จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ลดโรค ลดเสี่ยง

  • การสาธิตอาหารแลกเปลี่ยน

  1. จัดตั้งชมรมลดเสี่ยงลดโรคปรับเปลี่ยนสุขภาพ

  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงโดย อสม.เดือนละ 1 ครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง

  2. กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

  3. กลุ่มเป้าหมายสามรถลดระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2560 13:35 น.