โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซูการ์นอ มะตีมัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4135-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4135-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดีจัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2554 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบุดี ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562
- จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562
- ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
18
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ที่ทางหน่วยงานบริการสาธารณสุข กลุ่มชมรม เสนอพิจารณาที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ 2562
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการร่วมพิจารณากิจกรรมโครงการ
- มีแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการต่อไป
18
0
2. จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
วันที่ 23 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
- เสนอคณะกรรมที่ประชุมเพื่อทราบและพิจารณาอนุมัติดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างครุภัฑ์คอมพิวเตอร์
- ศึกษารายละเอียดครุภัณฑ์ที่ต้องการจัดซื้อจัดจ้างตามเกณฑ์ราคากลาง
- จัดทำเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
- ตรวจรับพัสดุ
- รายงานคณะกรรมที่ประชุมทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี มีเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์ จำนวน 1 ชุด ส่งผลให้การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานสำนักเลขานุการกองทุน รวดเร็ว ถูกต้อง มีประสิทธิภาพมากขึ้น
0
0
3. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562
วันที่ 26 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ตามแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2563 ในการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี และเพื่อเสนอพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2563 และร่วมเสนอแผนงาน/โครงการเข้าสู่แผนการจัดการบริการสาธารณสุข เพื่อพิจารณาขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ที่จะดำเนินการในปี 2563 ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2563
- ร่วมเสนอแผนงาน/โครงการ จากหน่วยงานต่างๆ และกลุ่มชมรมในตำบลบุดี
18
0
4. ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ขึ้น เพื่อแจ้งแนวทางการดำเนินงานกองกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในระดับพื้นที่ ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 และเพื่อการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน และชี้แจงหน้าที่ของอนุกรรมการแต่ละฝ่ายตามคำสั่งฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คณะอนุกรรมการกองทุนฯ เข้าใจประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561
- คณะอนุกรรมการรู้หน้าที่ของอนุกรรมการแต่ละฝ่ายตามคำสั่งฯ
22
0
5. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562
วันที่ 7 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อแจ้งแนวทางการดำเนินงานกองกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2562 ในการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี และเสนอพิจารณาแผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการในปี 2562 โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 16 คน
- ผู้เข้าร่วมประชุมครั้งนี้ 15 คน ขาด 1 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กรรมการที่เข้าร่วมประชุมเข้าใจแนวทางการดำเนินงานกองกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2562 มากขึ้น
- มีแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
16
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : - กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
- กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ม.ค. จำนวนร้อยละ 60 และภายใน เดือน ก.ค.61 ร้อยละ 90
0.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
15.00
3
เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
30.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
18
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
18
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562 (2) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562 (3) จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (4) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562 (5) ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4135-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซูการ์นอ มะตีมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซูการ์นอ มะตีมัน
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4135-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4135-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดีจัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2554 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบุดี ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี นี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
- เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562
- จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
- ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562
- ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 18 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562 |
||
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ที่ทางหน่วยงานบริการสาธารณสุข กลุ่มชมรม เสนอพิจารณาที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ 2562 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการร่วมพิจารณากิจกรรมโครงการ - มีแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติให้ดำเนินการต่อไป
|
18 | 0 |
2. จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ |
||
วันที่ 23 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี มีเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์ จำนวน 1 ชุด ส่งผลให้การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานสำนักเลขานุการกองทุน รวดเร็ว ถูกต้อง มีประสิทธิภาพมากขึ้น
|
0 | 0 |
3. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562 |
||
วันที่ 26 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ตามแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2563 ในการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี และเพื่อเสนอพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ประจำปี 2563 และร่วมเสนอแผนงาน/โครงการเข้าสู่แผนการจัดการบริการสาธารณสุข เพื่อพิจารณาขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ที่จะดำเนินการในปี 2563 ต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
4. ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562 |
||
วันที่ 27 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำจัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ขึ้น เพื่อแจ้งแนวทางการดำเนินงานกองกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในระดับพื้นที่ ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 และเพื่อการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน และชี้แจงหน้าที่ของอนุกรรมการแต่ละฝ่ายตามคำสั่งฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
22 | 0 |
5. ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562 |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อแจ้งแนวทางการดำเนินงานกองกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2562 ในการจัดทำแผนสุขภาพประจำปี และเสนอพิจารณาแผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการในปี 2562 โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 16 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
16 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน ตัวชี้วัด : - กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % - กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ม.ค. จำนวนร้อยละ 60 และภายใน เดือน ก.ค.61 ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน) |
15.00 |
|
||
3 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน) |
30.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 18 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 18 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2562 (2) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2562 (3) จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (4) ประชุมกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2562 (5) ประชุมอนุกรรมการกองทุนฯ ประจำปี 2562
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบุดี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4135-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซูการ์นอ มะตีมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......