กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชาวคลองวิไลและเกาะแก้วพร้อมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยแนวคิดสุขภาพดี วิถีไทย ปี 2561
รหัสโครงการ 001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตาสัง
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตาสัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตาสัง อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์
ละติจูด-ลองจิจูด 15.993,99.967place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2560 30 ก.ย. 2561 27,000.00
รวมงบประมาณ 27,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาคนไทยเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิตเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว และมีแนวโน้มที่รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ โรควิถีชีวิต คือ ไม่ได้เกิดการติดเชื่้อ แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้ชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่  ทีมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน และเต็มเพิ่มขึ้น กินผัก ผลไม้น้อยลง และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น จากการสำรวจของกรมอนามัยเมื่อปี พ.ศ.2550 พบว่าในประชาชนอยุ 15 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ พบภาวะอ้วนลงพุงในเพศชาย ร้อยละ 24 และเพศหญิงร้อยละ 61.5 หากวิเคราะห์จากแนวโน้มในอดีตพบว่า โรคหัวใจขาดเลือดมักเกิดในผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันพบในอายุน้อยลงเรื่อย ๆ โดยพบสัญญารอันตรายตั้งแต่วัยเด็ก ข้อมูลขากองค์การอนามัยโลกที่ระบว่า ภาวะโรคในประชาชนที่ก่อความสูญเสียสูงมากคือ ความดันโลหิตสูง คลอเลสเตอเรอลสูง ปริมาณการบริโภคผักผลไม้น้อยลง ปัญหาน้ำหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มขึ้น และอัตราการใช้แรงกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องทุกระดับรวมทั้งประชาชนอย่างจริงจัง เพิ่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วัน ๆ ละย่างน้อย 30 นยาที ร่วมกับการับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลง เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตาสัง จึงได้จัดทำโครงการ"ชาวคลองวิไลและเกาะแก้วพร้อมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยแนวคิดสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ปี 2561 เพื่อให้ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตด้วยการรวมพลังขับเคลทื่อนทุกภาคส่วนอย่างบูรณาการ สมดุล ยั่งยืน และเป็นสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบอย่างแก่ หมู่่อื่นๆ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในหมู่บ้านกล่มเป้าหมาย ที่เกี่ยวข้องกับโรควิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงบ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคอ้วน ทั้งกลุ่มปกติ หลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และหลุ่มที่มีภ่วะแทรกซ้อน ได้รับความรู้ มีการเฝ่้าระวัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพที่เหมาะสม และเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร่วมกันกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดไขมัน ซึงจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

80.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,000.00 0 0.00
30 ต.ค. 60 วางแผนการจัดโครงการ 0 0.00 -
4 เม.ย. 61 จัดอบรมแกนนำสุขภาพ 0 20,000.00 -
18 ก.ค. 61 ประชาสัมพันธ์โครงการ 0 2,000.00 -
21 ต.ค. 61 จัดทำเวทีประชาคม 0 5,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดแกนำหมู่บ้าน จำนวน 160 คน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ต.ค. 2561 10:55 น.