โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายยูโสบ ยะโกบ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะ ถือว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้นและสิ่งทีตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้นแม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทิวทัศทั้งกลิ่น ความสะอาด เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมืองถึงแม้ในปีหนึ่งๆประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการขยะแต่ผลลัพท์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจประกอบกับประชาชนในชุมชนก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางไม่มีการขัดแยกขยะก่อนทิ้งรวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
ในการจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นเราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆก่อนด้วยการปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนก่อน จัดกิจกรรมให้สมาชิกในครอบครัวได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะแล้วก็สามารถขยายผลไปยังภาพรวมของชุมชนต่อไปโดยหวังผลว่า การลดขยะตกค้างในชุมชน จะช่วยทำให้หมู่บ้านสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชนสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ
- เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
- สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน
- ตลาดนัดรีไซเคิล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี (ครัวเรือน)
252
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หมู่บ้านน่าอยู่ สะอาดมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
- ลดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน
- ลดแหล่งเพาะพันธุ์ พาหะนำโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมตัวแทนครัวเรือนละ 1 คน เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมร่วมกัน จำนวน 100 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดข้อตกลงร่วมกัน จำนวน 11 มาตรการ
100
0
2. สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน
วันที่ 21 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
อกนนำเดินรณรงค์สำรวจขยะมูลฝอยในครัวเรือน รณรงค์ประชาสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สำรวจปริมาณขยะในครัวเรือน จำนวน 225 ครัวเรือน
15
0
3. ตลาดนัดรีไซเคิล
วันที่ 28 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดตลาดนัดขยะรีไซเคิล แลกซื้อขยะรีไซเคิล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ40 ครัวเรือน
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน
ตัวชี้วัด : (ร้อยละ) ถังขยะที่ไม่มีขยะมูลฝอยล้นถัง ใน 1 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
80.00
2
ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดรีไซเคิล (ครัวเรือน)
100.00
3
เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านเกิดข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน อย่างน้อย 3 มาตรการ
4.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
252
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี (ครัวเรือน)
252
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ (3) เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน (2) สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน (3) ตลาดนัดรีไซเคิล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยูโสบ ยะโกบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายยูโสบ ยะโกบ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะ ถือว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้นและสิ่งทีตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้นแม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทิวทัศทั้งกลิ่น ความสะอาด เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมืองถึงแม้ในปีหนึ่งๆประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการขยะแต่ผลลัพท์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจประกอบกับประชาชนในชุมชนก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางไม่มีการขัดแยกขยะก่อนทิ้งรวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
ในการจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นเราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆก่อนด้วยการปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนก่อน จัดกิจกรรมให้สมาชิกในครอบครัวได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะแล้วก็สามารถขยายผลไปยังภาพรวมของชุมชนต่อไปโดยหวังผลว่า การลดขยะตกค้างในชุมชน จะช่วยทำให้หมู่บ้านสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชนสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ
- เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
- สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน
- ตลาดนัดรีไซเคิล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี (ครัวเรือน) | 252 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หมู่บ้านน่าอยู่ สะอาดมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
- ลดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน
- ลดแหล่งเพาะพันธุ์ พาหะนำโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำประชุมตัวแทนครัวเรือนละ 1 คน เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมร่วมกัน จำนวน 100 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดข้อตกลงร่วมกัน จำนวน 11 มาตรการ
|
100 | 0 |
2. สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำอกนนำเดินรณรงค์สำรวจขยะมูลฝอยในครัวเรือน รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสำรวจปริมาณขยะในครัวเรือน จำนวน 225 ครัวเรือน
|
15 | 0 |
3. ตลาดนัดรีไซเคิล |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดตลาดนัดขยะรีไซเคิล แลกซื้อขยะรีไซเคิล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ40 ครัวเรือน
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน ตัวชี้วัด : (ร้อยละ) ถังขยะที่ไม่มีขยะมูลฝอยล้นถัง ใน 1 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
80.00 |
|
||
2 | ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดรีไซเคิล (ครัวเรือน) |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ตัวชี้วัด : หมู่บ้านเกิดข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน อย่างน้อย 3 มาตรการ |
4.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 252 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 6 บ้านกาลูบี (ครัวเรือน) | 252 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ (3) เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน (2) สร้างการตื่่นตัวและ รับรู้ของชุมชน (3) ตลาดนัดรีไซเคิล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้าง เพื่อบ้านกาลูบีสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L5307-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยูโสบ ยะโกบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......