กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายไพบูลย์ ดำสมุทร (ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปาโจ)

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4138-02-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ



บทคัดย่อ

1.1 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการบริการด้ัานสุขภาพอนามัยที่ดีและเพียงพอต่อความต้องการ จากการจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รู้จักการออกกำลังกายและการทดสอบสมรรถภาพกายเบื้องต้นซึ่งจะทำให้นักเรียนรู้จักการเลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมกับนักเรียน 1.2 เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน-ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและชุมชน จากการจัดกิจกรรมทำให้ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลแลสุขภาพฟันของตัวเองและนักเรียนซึ่งจะทำให้ผู้ปกครองมีความใส่ใจในการแปรงฟันของนักเรียนของนักเรียนและการรักษาสุขภาพช่องฟันที่ถูกวิธี 1.3 เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี นักเรียนจะได้แปรงฟันในโรงเรียนช่วงพักกลางวันและทำให้นักเรียนตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องฟันของนักเรียนลดปัญหาการถอนฟันและปัญหาในช่องปากของนักเรียน 1.4 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้รู้จักการปลูกผักรับประทานเองและปลูกฝังความรับผิดชอบของนักเรียนในการดูแลแปรงเกษตรปลอดสารพิษซึ่งทำให้นักเรียนได้มีผักที่ปลอดสารพิษรับประทานในโรงเรียน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533) ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม ตามบทบาทและหน้าที่ของตน        ในฐานะพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยทีมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบููรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข
        ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในโรงเรียนเพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี สมบุรณ์แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจนั้นเป็นสิทธิขั้นต้นของมนุษย์ ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ และเป็นหน้าที่ของทุกคนจะต้องแสวงหา สร้างเสริมให้เกิดกับตนเอง พร้อมทั้งช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้อื่นที่อยู่ใกล้ชิด ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านปาโจ ซึ่งเห็นความสำคัญ ในเรื่องนี้มาโดยตลอด จึงร่วมมือกับผู้ปกครองชุมชน ให้มีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้ที่ถูกต้องและสนับสนุนให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่มีความสนใจ ตั้งใจ และเสียสละเวลาช่วยเหลือบริการเพื่อนๆ ให้มีสุขภาพดีเข้ารับการอบรมเป็นผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน - ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและชุมชน
  2. 3. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  3. 4. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตลาดนัดสุขภาพประจำปี 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 83
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์
  2. นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  3. นักเรียนมีความรู้และนำความรู้ไปใช้ดูแลตนเองให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
  4. ชุมชนบ้านปาโจมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  5. ชุมชนบ้านปาโจตระหนักถึงการรักษาสุขภาพ
  6. นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญในการแปรงฟันและนำกลับไปแปรงที่บ้านทุกวัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ เพื่อให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถสรุปผลการดำเนินงานดังนี้ ผลการดำเนินงานสามารถสรุปผลได้ดังนี้:- 1. ผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ ประจำปีงบประมาณ 2562 1.1 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการบริการด้านสุขภาพอนามัยที่ดีและเพียงพอต่อความต้องการ จากการจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประดยชน์ รู้จักการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับนักเรียน 1.2 เพื่อเผนแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน - ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและชุมชน จากการจัดกิจกรรมทำให้ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันของตัวเองและนักเรียนซึ่งจะทำให้ผู้ปกครองมีความใส่ใจในการแปรงฟันของนักเรียนและการรักษาสุขภาพช่องฟันที่ถูกวิธี 1.3 เพื่อให้นักเรียนได้รัูจักการแปรงฟันที่ถูกวิธี นักเรียนจะได้แปรงฟันในโรงเรียนช่วงพักกลางวันและทำให้นักเรียนตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องฟันของนักเรียนลดปัญหาการถอนฟันและปัญหาในช่องปากนักเรียน 1.4 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้รู้จักการปลูกผักรับประทานเองและปลูกฝังความรับผิดชอบของนักเรียนในการดูแลแปลงเกษตรปลอดสารพิษซึ่่งทำให้นักเรียนได้มีผักปลอดสารพิษรับประทานในโรงเรียน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน - ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน - ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและผู้ปกครองรู้จักวิธีการรักษาและดูแลตนเองไม่ให้เจ็บป่วย
83.00 90.00

 

2 3. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนได้รู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี
83.00 80.00

 

3 4. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
83.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83 239
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 83 239
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

1.1 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้รับการบริการด้ัานสุขภาพอนามัยที่ดีและเพียงพอต่อความต้องการ จากการจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รู้จักการออกกำลังกายและการทดสอบสมรรถภาพกายเบื้องต้นซึ่งจะทำให้นักเรียนรู้จักการเลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมกับนักเรียน 1.2 เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยแก่นักเรียน-ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนและชุมชน จากการจัดกิจกรรมทำให้ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลแลสุขภาพฟันของตัวเองและนักเรียนซึ่งจะทำให้ผู้ปกครองมีความใส่ใจในการแปรงฟันของนักเรียนของนักเรียนและการรักษาสุขภาพช่องฟันที่ถูกวิธี 1.3 เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี นักเรียนจะได้แปรงฟันในโรงเรียนช่วงพักกลางวันและทำให้นักเรียนตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องฟันของนักเรียนลดปัญหาการถอนฟันและปัญหาในช่องปากของนักเรียน 1.4 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้รู้จักการปลูกผักรับประทานเองและปลูกฝังความรับผิดชอบของนักเรียนในการดูแลแปรงเกษตรปลอดสารพิษซึ่งทำให้นักเรียนได้มีผักที่ปลอดสารพิษรับประทานในโรงเรียน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ไม่มี

-

-


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ

รหัสโครงการ 62-L4138-02-007 ระยะเวลาโครงการ 20 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

นักเรียนได้ปลูกผักสวนครัวในแปลงเกษตรอินทรีที่ปลอดภัยสารพิษ และนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันของนักเรียน

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง/ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

นักเรียนทุกคนเปรงฟันในช่วงกลางวันหลังอาหาร

กิจกรรมแปรงฟัน โรงเรียนบ้านปาโจ/ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ปลูกผักสวนครัว

แปลงผักโรงเรียนบ้านปาโจ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพนักเรียนบ้านปาโจ โดยการให้นักเรียนเข้าฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของนักเรียน

กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพนักเรียนบ้านปาโจ/ภาพถ่ายโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมแปลงเกษตรอินทรีปลอดสารพิษ

แปลงผักโรงเรียนบ้านปาโจ/ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านปาโจ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4138-02-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพบูลย์ ดำสมุทร (ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปาโจ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด