กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุผลและสำเร็จด้วยดีตามวัตถุประสงค์

- เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนบ้านโคกม่วง - แกนนำสามารถค้นหาและคัดกรองผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในเบื้องต้นได้ - แกนนำสามารถส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสู่ระบบบริการสาธารณสุขได้ จากวัตถุประสงค์โครงการข้างต้นได้มีการดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้ 1. มีการวางแผนร่วมกับทีมทำงานในชุมชน
ในชุมชนมีการรวมตัวกันของสมาชิกในชุมชน เป็นกลุ่ม เป็นชมรม จานวนน้อย ประกอบด้วยกลุ่ม - กลุ่มสตรีแม่บ้าน - กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ - กลุ่มชมรม อสม - กลุ่มผู้สูงอายุ - คณะกรรมการมัสยิด - กลุ่มผู้นำชุมชน
การรวมกลุ่มของคนในชุมชนมีความเข้มแข็งค่อนข้างน้อย ส่งผลให้การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนมาเข้าร่วมกิจกรรมได้ไม่ทั่วถึง กลุ่มหลักที่ให้ความสำคัญมากกับสุขภาพจิตคือ 3 กลุ่มแรก 2. มีการจัดเวทีคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจค้นหาปัญหา และได้วางแผนดำเนินการแก้ไข โดยชุมชนเป็นคนคิดและวางแผนแก้ไข เพื่อพัฒนารูปแบบกิจกรรมการดูแลผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตและผู้ที่ป่วยด้วยโรคทางสุขภาพจิตในชุมชนบ้านโคกม่วง
3. มีการกำหนดจัดกิจกรรมในชุมชน โดยยึดบริบท ประเพณีและวัฒนธรรมในพื้นที่เป็นหลัก เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วม สร้างความเชื่อมั่นและการเข้าถึงกิจกรรมของประชาชนในเครือข่าย 4. ดำเนินกิจกรรม ดังนี้     5.1 สร้างทีมดูแลสุขภาพจิต โดยมีการอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตของตนเองและคนรอบข้าง เพื่อให้สามารถช่วยเหลือเยียวยาจิตใจตนเองและผู้อื่นได้ แก่แกนนำชุมชนบ้านโคกม่วง ตำบลตุยง ประกอบด้วย - อสม.ทุกคนในหมู่บ้าน - โต๊ะอีหม่าม - ผู้ใหญ่บ้าน - สมาชิก อบต.     5.2 มีการลงเยี่ยมผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตและผู้ที่ป่วยด้วยโรคทางสุขภาพจิต ร่วมกันโดยคนในชุมชนและทีมสุขภาพจิตบ้านโคกม่วง 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการดำเนินกิจกรรม และวางแผนพัฒนางานต่อไป





  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์  เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........100............................................... คน
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท เวทีคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจค้นหาปัญหา และได้วางแผนดำเนินการแก้ไข โดยชุมชนเป็นคนคิดและวางแผนแก้ไข
    • ค่า อาหารกลางวัน จำนวน 100 คน .x 40 บาท..           เป็นเงิน  ..4,000..  บาท
    • ค่า อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน x 50 บาท เป็นเงิน  ..5,000.. บาท
    • ค่าวัสดุอื่นๆ                                                                  เป็นเงิน  ..1,000.. บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท  คิดเป็นร้อยละ ......100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท  คิดเป็นร้อยละ ........-...................
  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี         /• มี ปัญหา/อุปสรรค
    • อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต
    • ปัจจุบันยังไม่มีนโยบายงานสุขภาพจิต
          แนวทางการแก้ไข
    • หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
    • หาเครือข่ายร่วมดำเนินงาน เช่น แกนนาชุมชน ชมรมต่างๆที่มีในพื้นที่

- ค้นหาปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่
- ผู้รับผิดชอบผลักดันกระตุ้นให้เห็นความสาคัญ ให้เกิดนโยบายโดยการนำเรื่องสุขภาพจิตเสนอต่อผู้บริหาร
- ชี้แจงให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตในเวทีประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
- การดำเนินงานต้องมีการบูรณาการ การประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนบ้านโคกม่วง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่รับการรักษาต่อเนื่อง 2. ร้อยละ 80 ของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแล 3. ร้อยละ 70 ของแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนสามารถให้การช่วยเหลือเยียวยาด้านจิตใจได้

 

2 แกนนำสามารถค้นหาและคัดกรองผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่รับการรักษาต่อเนื่อง 2. ร้อยละ 80 ของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแล 3. ร้อยละ 70 ของแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนสามารถให้การช่วยเหลือเยียวยาด้านจิตใจได้

 

3 แกนนำสามารถส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสู่ระบบบริการสาธารณสุขได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่รับการรักษาต่อเนื่อง 2. ร้อยละ 80 ของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแล 3. ร้อยละ 70 ของแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนสามารถให้การช่วยเหลือเยียวยาด้านจิตใจได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาสุขภาพจิตชุมชนบ้านโคกม่วง (2) แกนนำสามารถค้นหาและคัดกรองผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในเบื้องต้นได้ (3) แกนนำสามารถส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสู่ระบบบริการสาธารณสุขได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh