กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน


“ โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ ”

ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง

ชื่อโครงการ โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ

ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยในกระ แสโลกาภิวัฒน์ ได้มีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดระบบเสรีทางการค้า เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และการสื่อสาร ความก้าวหน้าในด้านการค้า อุตสาหกรรม และการพัฒนาในด้านต่างๆ แต่ในทางกลับกันได้ส่งผลกระทบต่อ? โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม และการดำรงชีวิตของคนไทยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ได้เกิดช่องว่างระหว่างคนจนกับคนรวย เกิดการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย วัยแรงงานละทิ้งอาชีพการเกษตรที่เคยเป็นอาชีพดั้งเดิมไปหางานทำในเมืองเพื่อ รายได้ที่แน่นอนกว่า ทำให้เด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง ครอบครัวขาดความเข้มแข็ง ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเอื้ออาทรต่อกันลดน้อยลง ทุกคนมุ่งแสวงหาวัตถุนิยมกันมากขึ้น ซึ่งเป็นตัวชี้วัดถึงภัยและปัญหาสังคมที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต จากสถานการณ์ดังกล่าวสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จึงได้มีพระราชบัณฑูรที่ ๑/๒๕๔๙ เรื่อง โครงการสายใยรักจากแม่สู่ลูก โดยมีวัตถุประสงค์ให้ความสำคัญในการรณรงค์ปลูกจิตสำนึกของสังคมไทยให้เห็นความสำคัญของสถาบันครอบครัวและให้ความสำคัญในการดูแลเด็กและเยาวชนและสนับสนุนให้มีโครงการต่างๆอย่างเหมาะสมและการประสานงานโครงการต่างๆที่มีอยู่ก่อนเพื่อให้เกิดมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติในการแก้ปัญหาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว นอกจากนี้ได้ทรงมีพระกระแสรับสั่งถึงแนวทางในการดำเนินงานว่าควรมีศูนย์กลางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเน้นความต่อเนื่องเชื่อมโยงเป็นวงจรของทุกช่วงวัยภายใต้การดำเนินงานของหลักเหตุผลตั้งแต่การสร้างความคิดรวมยอด (Concept) การกำหนดคำจำกัดความที่ชัดเจน (Definition) และถ่ายทอดลงสู่ระดับต่างๆ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม (Implementation) โดยคำนึงถึงปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ ตลอดจน ข้อดี ข้อเสียต่าง ๆ ซึ่ง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ได้น้อมนำพระกระแสรับสั่งมาดำเนินการเป็นโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว และเป็นแนวทางในการจัดตั้งศูนย์ ๓ วัย สานสายใยรักแห่งครอบครัว ได้แก่ วัยเด็ก วัยพ่อแม่ และวัยปู่ ย่า ตา ยาย โดยมอบหมายให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดำเนินการจัดตั้งศูนย์ ๓ วัย สานสายใยรักแห่งครอบครัว ขึ้น เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว โดยเน้นความต่อเนื่องและเชื่อมโยงเป็นวงจรของคนทุกช่วงวัยให้อยู่ร่วมกันใน ครอบครัว ชุมชน และสังคม ด้วยสายใยที่รักใคร่ กลมเกลียว มีความเอื้ออาทรต่อกันอันจะก่อให้เกิดความยั่งยืน และจะเป็นรากฐานที่สำคัญต่อความมั่นคงของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การดูแลมารดาทารกแรกแรกเกิดให้มีสุภาพแข็งแรงปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนเป็นหน้าที่ที่หลักของเจ้าหน้าที่และปัจจัยที่สำคัญในการส่งเสริมให้มารดาทารกจะปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนอันดับแรกได้แก่มารดาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและทราบอาการผิดปกติที่ต้องเฝ้าสังเกตเพื่อที่จะไปพบแพทย์รับการรักษาได้ทันเวลาแต่ที่ผ่านมากระบวนการให้สุขศึกษาไม่มีรูปแบที่ชัดเจนทั้งในด้านวิธีการสอนเนื้อหาระยะเวลาและสถานที่ที่ใช้ในการสอนไม่สามารถดึงความสนใจมารดาได้เท่าทีควรจากการประเมินความรู้หลังการให้สุขศึกษามารดาหลังคลอดในปี 2559พบว่ามารดาที่มีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดเฉลี่ย62 % ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คือ 80 % ขึ้นไปทางเจ้าหน้าที่จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง และต่อเนื่อง 5 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์
  3. 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม และสามารถดูแลตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
    2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง และต่อเนื่อง 5 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์ 3.หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม และสามารถดูแลตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง และต่อเนื่อง 5 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม และสามารถดูแลตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง และต่อเนื่อง 5 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์ (3) 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม และสามารถดูแลตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการติดตามงานอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุแตบือราแง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด