กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี
รหัสโครงการ 60-L3341-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 3,225.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี
พี่เลี้ยงโครงการ นายวุฒิชัยนื่มดำนายประเสริฐคงแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.191,100.13place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2560 30 เม.ย. 2560 3,225.00
รวมงบประมาณ 3,225.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันเกษตรกรหันมาใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชแทนการใช้พืชที่เป็นสมุนไพรหรือใช้วิธีชีวภาพปราบศัตรูพืชกันมากขึ้นทำให้ผู้บริโภคเกิดความไม่มั่นใจในการเลือกบริโภคอาหารประเภทผักและผลไม้ในเขตรับผิดชอบการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารีก็เป็นพื้นที่ที่ประชากรมีอาชีพเป็นเกษตรกรจากข้อมูลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารีมีการตรวจเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงกับการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช และผู้บริโภคทั่วไปในเขตรับผิดชอบการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งนารี จำนวน๑51คนพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีผลการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้าง ในระดับปกติ29 คนคิดเป็นร้อยละ๑9.๒1ระดับปลอดภัย4๓ คน คิดเป็นร้อยละ๒8.๔7ระดับเสี่ยง 54คนคิดเป็นร้อยละ35.76 ระดับไม่ปลอดภัย25คนคิดเป็นร้อยละ 16.55จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับสารเคมีตกค้างในร่างกายในระดับปกติ คือไม่มีสารเคมีตกค้างเพียงร้อยละ ๑9.๒1ซึ่งเป็นอัตราที่ค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับประชากรที่พบว่ามีสารเคมีตกค้างซึ่งรวมแล้วมีมากถึงร้อยละ ๘0.๗8และน่าเป็นห่วงเป็นอย่างยิ่งที่พบว่ามีสารเคมีตกค้างในระดับไม่ปลอดภัยถึงร้อยละ16.78 จากการสอบถามข้อมูลการบริโภคผักผลไม้ของประชาชนในพื้นที่ พบว่าประชาชนส่วนใหญ่นิยมซื้อผักที่แม่ค้านำมาขายที่ตลาด มากกว่าการปลูกผักกินเอง แต่มีประชาชนส่วนหนึ่งในพื้นที่ปลูกผักกินเอง และถ้าเหลือจากกินก็จะนำไปขายที่ตลาดใกล้บ้านจากการสอบถามผู้ปลูกผักก็ยังพบการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชอยู่ ดังนั้นเพื่อเป็นการยับยั้ง และปลูกจิตสำนึกของเกษตรกรผู้ปลูกผักทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารีจึงได้ทำโครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกรเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ปัญหาสารเคมีตกค้างในร่างกายของเกษตรกรและผู้บริโภคตั้งแต่ต้นทางการปลูก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรรู้ว่าตัวเองมีสารตกค้างในเลือดในระดับใด.

เกษตรกรรับรู้ได้ว่ามีสารตกค้างในระดับใด

2 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช

เกษตรกรมีความตระหนักถึงอันตรายในสารเคมี

3 เพื่อให้เกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง...

เกษตรกรพร้อมจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้สารเคมี

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1นัดเกษตรกรเพื่อชี้แจงรายละเอียดต่างๆของโครงการ…. 2…กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการเจาะเลือด…. 3…อ่านผลการตรวจ และแจ้งผลการตรวจเลือดต่อกลุ่มเป้าหมาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1…เกษตรกรได้รับการตรวจเลือด และรู้ผลมีสารตกค้างอยู่ในระดับใด… 2 เกษตรกรมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช. 3…เกษตรกรมีความรู้ในการป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มี.ค. 2560 09:45 น.