กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมพงศ์ รัตนพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-03-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3013-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 236,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกาย และจิตใจ ทุกเพศทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่า ประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากรปัจจุบันสังคมไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบรูณ์ในปี 2567 หรืออีก 7 ปีข้างหน้า คิดเป็นร้อยละ 20 เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ และสังคม ทางรัฐบาลได้สนับสนุนให้มีภาควิชาหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุประกอบด้วย 3 กลุ่มวิชา คือ วิชาชีวิต 50% วิชาชีพ 30% วิชาการ 20% ซึ่งการดำเนินงานสอดคล้องตาม แผนสุขภาพผู้สูงอายุจัดอยู่ในหลักสูตรวิชาชีวิต หมวดวิชาชีวิตและสุขภาพ ที่ครอบคลุมหลัก 3 อ. คือ อาหาร อารมณ์ และออกกำลังกายนำไปสู่ผู้สูงวัยมีสุขภาวะดีครบทั้ง 4 มิติซึ่งมิติสุขภาวะ หมายถึง การมองถึงสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางปัญญา ซึ่งสอดคล้องกับโครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางปัญญา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ และยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ว่าด้วยยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่เน้นสร้างคนพัฒนาจิตใจ ปัญญา และกาย ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความเสมอภาคและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมทุกด้านจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 – 2554) กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และสอดคล้องตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546อบต.บานา มีหน้าที่จัดบริการให้ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมายฉบับนี้ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน ดังนั้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบานา (ศพอส.ตำบลบานา) ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำรงชีวิตและการพัฒนาจิตใจของผู้สูงวัย และมีวิสัยทัศน์ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข จากโครงการที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2561 เน้นการดูแลและการบริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นสำคัญได้แก่ โครงการการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุและ โครงการสาธารณสุขเคลื่อนที่ ห่วงใยใส่ใจบริการสุขภาพ ซึ่งโครงการที่ผ่านมาได้รับความสนใจ ผ่านการประเมินเป็นโครงการต้นแบบเขตเทศบาลเมือง(1 อำเภอ 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ต้นแบบซึ่ง อบต. บานา ได้รับคัดเลือกเป็น อบต.ต้นแบบ ของเขตเทศบาลเมืองปัตตานี เสนอโครงการการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย ของชมรมผู้สูงอายุตำบลบานา จัดเป็นโครงการดีเด่นของโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามแนวทางประชารัฐ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปีงบประมาณ 2562 ทางศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบานา (ศพอส.ตำบลบานา) ได้ต่อยอดโครงการเดิม โดยชื่อโครงการว่าโครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดีโดยการปรับกระบวนการทำงานในการพัฒนาสุขภาพกายและจิต ภายใต้การรักษาการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสุขภาพ นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น เน้นในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ และการพัฒนาทักษะ ความรู้ การดูแลสุขภาพ ทั้ง 3 อ. คือ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกายสู่การมีสุขภาวะดีครบทั้ง 4 มิติ ได้แก่ กายใจอารมณ์/ ปัญญา และสังคมเป็นสุข ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชมรมผู้สูงอายุตำบลบานาให้มากยิ่งขึ้นได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย รพสต. อสม. และแกนนำผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อเป็นการเสริมสร้างสังคมให้เข้มแข็งส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่การยกระดับจัดตั้งเป็นศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ อย่างครบวงจร และเตรียมรับศูนย์ LTC เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุโดยเฉพาะหมวดวิชาชีวิตและสุขภาพ ผู้สูงอายุมีความรู้ทักษะ การดูแลสุขภาพตนเองในภาวะพึ่งพิง ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงที่ถูต้อง และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ในระดับพื้นฐานดีขึ้นได้อย่างเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการคัดกรอง การดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง สามารถดูแลตนเองในภาวะพึ่งพิงได้
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์รู้รักการออกกำลังกาย นำไปสู่การพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบานาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย จิต อารมณ์/ปัญญาที่ดี สังคมเป็นสุข และสามารถบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคมได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบล บานา
  2. กิจกรรมที่ 3 เสริมพลังผู้สูงวัย สุขภาพดี ใส่ใจการออกำลังกาย (อบรม/สาธิต จำนวน 2 วัน)
  3. กิจกรรมที่ 4 บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคม (เชิดชูคนดี ศรีสังคม แก่ผู้สูงวัยสุขภาพดี)
  4. กิจกรรมที่ 2 เครือข่ายมิตรภาพ ห่วงใยบริการใส่ใจสุขภาพ ( คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง) (อบรม จำนวน 1 วัน)
  5. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมถอดบทเรียนสุขภาพ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (อบรม/ระดมสมอง จำนวน 2 วัน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แกนนำผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุรู้ทันโรค เข้าใจสภาวะปัญหาสุขภาพของตนเองและผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง สามารถปฏิบัติดูแลสุขภาพของตนเองในภาวะพึ่งพิงได้ในระดับดี สามารถเป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และคนอื่นๆได้อย่างเข้าใจ 2. แกนนำผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ มีความรู้เกิดทักษะ ประสบการณ์ทัศนคติ ด้านการดูแลสุขภาพที่ดีและหลากหลาย เกิดความสนใจการออกกำลังกาย หรือกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุเกิดภาวะอารมณ์ที่สนุก จิตใจแจ่มใส กล้าแสดงออกด้านความคิด ความรู้สึก ในสังคมมากขึ้น และเกิดความรัก ความสามัคคีระหว่างกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน 3. ผู้สูงอายุเกิดขวัญ กำลังใจ ในการดูแลสุขภาพดี การเชิดชูคุณค่าทางสังคม เป็นแบบอย่าง ต้นแบบ แม่พิมพ์ที่ดีให้กับผู้สูงอายุรายอื่นๆ และลูกหลาน ให้หันมาสนใจ รักสุขภาพตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ และทุกขณะ ดังคำกล่าวที่ว่า การไม่มีโรค คือลาภอันประเสริฐเกิดการบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบล บานา

วันที่ 7 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

40 0

2. กิจกรรมที่ 3 เสริมพลังผู้สูงวัย สุขภาพดี ใส่ใจการออกำลังกาย (อบรม/สาธิต จำนวน 2 วัน)

วันที่ 16 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 4 บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคม (เชิดชูคนดี ศรีสังคม แก่ผู้สูงวัยสุขภาพดี)

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

4. กิจกรรมที่ 2 เครือข่ายมิตรภาพ ห่วงใยบริการใส่ใจสุขภาพ ( คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง) (อบรม จำนวน 1 วัน)

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

40 0

5. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมถอดบทเรียนสุขภาพ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (อบรม/ระดมสมอง จำนวน 2 วัน)

วันที่ 14 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการคัดกรอง การดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง สามารถดูแลตนเองในภาวะพึ่งพิงได้
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะ พัฒนาการในการดูแล ป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์รู้รักการออกกำลังกาย นำไปสู่การพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบานาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเสริมความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และหลักการปฏิบัติตนเองด้านการดูแลสุขภาพพื้นฐานและการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสม และเกิดความเข้าใจ ความสามัคคีระหว่างกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย จิต อารมณ์/ปัญญาที่ดี สังคมเป็นสุข และสามารถบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคมได้
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่สุขภาพที่ดีขึ้น ทั้งกาย ใจ อารมณ์/ปัญญา และรู้เท่าทันสภาวะสังคมที่เปลี่ยนแปลง สามารถบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ที่ดีต่อสังคมได้เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณค่าทางสังคม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการคัดกรอง การดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง สามารถดูแลตนเองในภาวะพึ่งพิงได้ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์รู้รักการออกกำลังกาย นำไปสู่การพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบานาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย จิต อารมณ์/ปัญญาที่ดี  สังคมเป็นสุข และสามารถบำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคมได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการคณะทำงานของชมรมผู้สูงอายุตำบล บานา (2) กิจกรรมที่ 3  เสริมพลังผู้สูงวัย สุขภาพดี  ใส่ใจการออกำลังกาย (อบรม/สาธิต จำนวน 2 วัน) (3) กิจกรรมที่ 4 บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อสังคม  (เชิดชูคนดี ศรีสังคม แก่ผู้สูงวัยสุขภาพดี) (4) กิจกรรมที่ 2 เครือข่ายมิตรภาพ ห่วงใยบริการใส่ใจสุขภาพ ( คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง) (อบรม จำนวน 1 วัน) (5) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมถอดบทเรียนสุขภาพ  เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (อบรม/ระดมสมอง จำนวน 2 วัน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนสร้างสุข ห่วงใยสุขภาพ เพื่อผู้สูงวัยสุขภาวะดี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-03-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมพงศ์ รัตนพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด