กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการติดตามและสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล LTC และกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพระดับจังหวัดผ่านกลไกพี่เลี้ยง 3 กองทุน จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2562

ลงสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับตำบล อำเภอสะบ้าย้อย ครั้งที่ 2 โดย ทีมพี่เลี้ยง อำเภอสะบ้าย้อย30 กรกฎาคม 2562
30
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย ดวงดาว อุปสิทธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำความเข้าใจกับเลขาฯ ผู้ดำเนินการ และเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกัสุขภาพในพื้นที่อำเภอระโนดและอำเภอสะบ้าย้อย ใน ประเด็นดังนี้
1.ให้มีการใช้งานและทำรายงานต่างๆ ผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้/ไม่ทำมือ
2.การดำเนินงานกองทุนฯ ให้ดำเนินการภายใต้ประกาศฯ 2561
3.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 10(1-5) การบริหารโครงการให้ใช้ระเบียบของผู้ขอรับทุน
4.กรณีมีการจ้างเหมาบุคคลสามารถกันเงินได้
5.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 10(5) แนะนำให้มีการกันเบิกจ่ายเงินในการประชุมครั้งแรกของปี
6.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 23 กรณี ณ 30 กันยายน มีเงินคงเหลือเกิน 2 เท่าของรายรับ สปสช.จะไม่สนับสนุนงบประมาณและ ท้องถิ่นไม่ต้องสมทบ
7.แนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ ปี 2563 ดังนี้
- ให้มีการจัดทำแผนการเงิน-คลัง
- ให้มีการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนฯ เน้นโครงการโภชนาการ NCD เหล้า/บุหรี่/ปัจจัยเสี่ยง PA คลินิกเกษตรกร
- ให้มีการจัดทำโครงการบริหารกองทุนฯ ไม่เกินร้อยละ 15 ของรายรับในปีนั้นๆ หากมี LTC ตั้งไม่เกินร้อยละ 20
8.ให้พิมพ์รายงานการเงินออกจากระบบให้ผู้มีอำนาจลงนาม และล็อกกุญแจในระะบบ
9.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละกองทุน 11.มีการติดตามการดำเนินง่านกองทุนหลักประกัสุขภาพในพื้นที่อำเภอสะบ้าย้อย ดังนี้
- การแต่งตั้งคณะกรรมการ
- การจัดทำแผน
- การสมทบเงินและการจัดทำรายงานการเงิน
- การใช้จ่ายเงินและเงินคงเหลือของแต่ละกองทุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ฺผู้เข้าร่วมประชุมมีทำความเข้าใจ ใน ประเด็นดังนี้
1.ให้มีการใช้งานและทำรายงานต่างๆ ผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้/ไม่ทำมือ
2.การดำเนินงานกองทุนฯ ให้ดำเนินการภายใต้ประกาศฯ 2561
3.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 10(1-5) การบริหารโครงการให้ใช้ระเบียบของผู้ขอรับทุน
4.กรณีมีการจ้างเหมาบุคคลสามารถกันเงินได้
5.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 10(5) แนะนำให้มีการกันเบิกจ่ายเงินในการประชุมครั้งแรกของปี
6.ตามประกาศฯ 2561 ข้อ 23 กรณี ณ 30 กันยายน มีเงินคงเหลือเกิน 2 เท่าของรายรับ สปสช.จะไม่สนับสนุนงบประมาณและ ท้องถิ่นไม่ต้องสมทบ
7.แนวทางการดำเนินงานกองทุนฯ ปี 2563 ดังนี้
- ให้มีการจัดทำแผนการเงิน-คลัง
- ให้มีการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนฯ เน้นโครงการโภชนาการ NCD เหล้า/บุหรี่/ปัจจัยเสี่ยง PA คลินิกเกษตรกร
- ให้มีการจัดทำโครงการบริหารกองทุนฯ ไม่เกินร้อยละ 15 ของรายรับในปีนั้นๆ หากมี LTC ตั้งไม่เกินร้อยละ 20
8.ให้พิมพ์รายงานการเงินออกจากระบบให้ผู้มีอำนาจลงนาม และล็อกกุญแจในระะบบ
9.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละกองทุน 11.มีการติดตามการดำเนินง่านกองทุนหลักประกัสุขภาพในพื้นที่อำเภอสะบ้าย้อย ดังนี้
- การแต่งตั้งคณะกรรมการ
- การจัดทำแผน
- การสมทบเงินและการจัดทำรายงานการเงิน
- การใช้จ่ายเงินและเงินคงเหลือของแต่ละกองทุน