โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลโรงเรียนประถมศึกษา ต.เขาย่า อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลโรงเรียนประถมศึกษา ต.เขาย่า อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง |
รหัสโครงการ | 62-L3367-1-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลศรีบรรพต |
วันที่อนุมัติ | 31 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.746,99.864place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 230 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสถาวะช่องปากเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอศรีบรรพต
ปี2558,2559,2560 และ2561 พบว่า เด็กอายุ3ขวบ มีฟันผุ ร้อยละ 66.0,54.9,58.6,67.5และ 59.1
ในกลุ่มอายุ 4-5 ขวบ มีฟันผุ ร้อยละ 73.1 70.7 67.1 และ67.0 ตามลำดับ โดยโรคฟันผุในเด็กเล็กจะลุกลามได้รวดเร็ว
มากทำให้เด็กจำนวนหนึ่งฟันผุเกือบทั้งปาก ปัญหาฟันผุส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของเด็กเล็ก ทั้งระบบย่อยอาหาร
ภาวะขาดสารอาหารอีกทั้งฟันผุยังเป็นแหล่งสะสมและแพร่กระจายของเชื่อโรคทำให้เด็กเจ็บป่วยเรื้อรังได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กมีความรู้เพิ่มขึ่นในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนและชั้นอนุบาล ร้อยละ80ของผู้ปกครอง ผู้ดูแลมีความรู้หลักอบรมมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ80ของคะแนนทั้งหมด |
0.00 | |
2 | เพื่อให้ผู้ปกครอง สามารถปฏิบัติวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้อย่างถูก่ต้อง ร้อยละ80 ของผู้ปกครองสามารถปฏิบัติวิธีการดูแลสุขดภาพช่องปากของเด็กได้ |
0.00 | |
3 | เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ90ของเด็กใน ศพด.และชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษาได้รรับการรักษาทางทันตกรรมอย่างน้อย1ครั้ง ของเด็กที่มีปัญหาช่องปาก |
0.00 | |
4 | เพื่อให้เด็กในศพด.และชั้นอนุบาลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก การเกิดฟันผุของเด็กใน ศพด.และชั้นอนุบาลลดลงร้อยบละ1ใน1ปี |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 12,200.00 | 0 | 0.00 | 12,200.00 | |
1 ต.ค. 61 - 1 ก.ย. 62 | อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง | 0 | 0.00 | - | - | ||
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 | การตรวจสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรม | 0 | 12,200.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 12,200.00 | 0 | 0.00 | 12,200.00 |
1.ผู้ปกครอง/ผู้ดูเเลเด็กมีการตื่นตัว เห็นความสำคัญและตระหนักถึงความจำเป็นการดูแลช่องปากมากขึ้น 2.ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนประถมศึกษามีการดำเนินงานส่งเสริมทางทันตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง 4.เด็กก่อนวัยเรียนเเละชั้นอนุบาลได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 5.เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ร่างกายเเข็งแรงสมบูรณ์ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลด้วงโรคที่ป้องกันด้วยการดูแลสุขภาพช่องปาก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2561 09:46 น.