กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5275-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรคลุกลามขึ้น ทและผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือส่วนใหญ่ต้องรักษาไปตลอดชีวิต ซึ่งนอกจากจะบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพจิตแล้ว ยังเเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจของตัวผู้ป่วยเอง และส่งผลถึงเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมด้วย และหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมดรคได้ ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ ที่รุนแรงตามมา ถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นภาวะวิกฤตในปัจจุบัน คือโรคเบาหวาน โรคความดันดลหิตสูง ดรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็งปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่นการรับประทาอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประมานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิต ยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเครียดสูง จากสถิติการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในทั่วโลก พบว่า 1 ใน11 คน พบว่าผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานโดยไม่รู้ตัว และทุกๆ 6 วินาที มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน นอกจากนั้นพบว่าผู้ป่วยอัมพาต หรือหลอดเลือดสมอง จำนวน 17 ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิต 6.5ล้านคน สำหรับประเทศไทย อัตราการตายด้วยดรคหลอดเลือดสมองต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ. 2556-2558 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเท่ากับ 36.13 ,38.68,42.62ตามลำดับ สถานการณ์ความชุกของโรคเบาหวาน ความดันดลหิตสูง และผู้ป่วยกลุ่มดรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากการคัดกรองประชากรเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสาในปีงบประมาณ 2559 ประชากรในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2678 รายพบว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 596 ราย อัตราป่วยร้อยละ 22.25 (รายใหม่ปี 59 จำนวน 44 ราย)พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 269 ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวานจำนวน 209 ราย อัตราป่วยร้อยละ7.80 (รายใหม่ปี 59 จำจำนวน 6 ราย)พบกลุ่มเสี่ยง จำนวน 72 ราย ซึ่งในแต่ละปีเป็นอัตราที่วสูงขึ้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้น ไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะแพทย์ ในโรงพยาบาลสูนย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติ อีกทั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสาซึ่งรับผิดชอบดูแลผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยง ในการติดตามป้องกันภาวะแทรกซ้อน และอันตรายจากโรค จาการติดตามเยี่ยมบ้านและนำปัญหาของการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัวของกลุ่มป่วย และกลุ่มเสี่ยงที่ยังไม่ถูกต้อง มาร่วมกันทำความเข้าใจ ให้คำแนะนำ แก้ไขปัญหา เป็นรายบุคคล รายกลุ่มย่อย เพื่อทำให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้ป่วย ญาติ ครอบครัวเกิดศักยภาพในการดูแลตนเองมากขึ้น ทีมสุขภาพทำงานเป็นหลัก กระตุ้นให้ตระหนักถึงการดูแลตนเอง ให้มีควมรู้ สร้างทัศนคติ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติตัวห่างจาการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนได้ ดังนั้น การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้มีความตระหนักและความเข้าใจ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ซึ่งเป้นหน่วยงานระดับปฐมภูมิที่ดูแลปัญหาสุขภาพ จึงเห็นความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว จึงเร่งสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชนขึ้น โดยได้จัดทำดครงการเสริมสร้างอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ในปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและญาติครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถุกต้อง
  2. 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท่า ในผุ้ป่วยโรคเรื้อรัง
  3. 3.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ ทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ 2.กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน 3.กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติๆของผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง 2.กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง สามารถป้องกันและดูจากภาวะแทรกซ้อนของโรคได้อย่างถูกต้อง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและญาติครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถุกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.ประเมินผลความรู้ พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ก่อน หลังการอบรม

     

    2 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท่า ในผุ้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : 2.รายงานอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยลดลง

     

    3 3.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 4.อัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและญาติครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถุกต้อง (2) 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทาง ตา ไต เท่า ในผุ้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) 3.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5275-2-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด