กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอดิศักดิ์ มะแซกูเบ




ชื่อโครงการ โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L8423-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 ตุลาคม 2559 ถึง 14 ตุลาคม 2559

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8423-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 ตุลาคม 2559 - 14 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติต้องได้รับการพัฒนาเต็มตามองค์รวมครบทุกด้านทั้งร่างกายอารมณ์สังคมสติปัญญาและจริยธรรมคุณธรรมทั้งนี้การพัฒนาเด็กและเยาวชนต้องอาศัยการบูรณาการผสมผสานกับวิถีชีวิตของเด็กและเยาวชนโดยสถานการณ์เกี่ยวกับปัญหาเด็กพบว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในประเด็นของการถูกทอดทิ้งไม่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างพอเพียง ทั้งนี้อาจสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ สำหรับประเด็นปัญหาด้านเด็กเป็นผู้กระทำผิดเองก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นทั้งปัญหาเด็กและเยาวชน ในเรื่องของปัญหายาเสพติดปัญหาความความก้าวร้าวปัญหาการใช้ความรุนแรง เป็นต้น
จาการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาดังกล่าวพบว่าครอบครัวและชุมชนยังขาดศักยภาพในการดูแลสมาชิกของตนเองและยังมีขีดความสามารถจำกัดในการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ที่จะเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชนในครอบครัวและชุมชนได้ สถานการณ์เยาวชนในพื้นที่ตำบลบาโงสะโตในปัจจุบัน สภาพวิถีชีวิตของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทั้งปัญหาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และการเมืองการปกครอง ความรีบเร่งในการทำงาน และการประกอบอาชีพส่งผลต่อชีวิตประจำวันของประชาชนโดยรวม ตัวอย่างเช่น การไม่ให้ความสำคัญกับเวลาที่มีคุณค่ากับลูก การไม่รู้จักและตระหนักถึงภัยจากสื่อโฆษณา มีแหล่งจูงใจในทางที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดความรู้ ขาดทักษะในการชี้แนะ เชื่อมโยงโน้มน้าวให้ลูกเกิดความรู้สึกนึกคิดที่ดีในการเข้ามาช่วยทำงานร่วมกับครอบครัว บ้านและโรงเรียนยังไม่สามารถทำงานร่วมกันในการพัฒนาเด็ก-เยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสภาพเงื่อนไขดังกล่าวก่อให้เกิดพื้นที่มั่วสุมพื้นที่เสี่ยง แหล่งอบายมุข สิ่งเสพติดของเด็ก-เยาวชน ทำอย่างไรที่จะให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักคุณค่าของเวลา มีทักษะในการดำรงชีวิต มีทักษะในการทำงาน มีจิตอาสาในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ เพื่อชุมชน วิธีการ ให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ใช้เวลาว่างในการแก้ปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาวะของตนเองและของบุคคลในชุมชน เช่น กิจกรรมค่ายส่งเสริมสุขภาพ การทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ 2557โดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ 2557ประเภทที่ 2 เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาโงสะโตโดยชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตำบลบาโงสะโตจึงได้จัดทำโครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสในการแสดงออกตามความถนัดของตนเองเพื่อสร้างคุณค่าการมีส่วนร่วมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมเพื่อห่างไกลยาเสพติดการส่งเสริมการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็งและได้ตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญในการที่จะร่วมป้องกันพัฒนาและดูแลเด็กและเยาวชนในเขตตำบลบาโงสะโตให้เติบโตเป็นสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคมจึงได้ร่วมกันจัดโครงการค่ายค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560 เพื่อเป็นสื่อกลางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เด็กมีทักษะในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างถูกต้องปลอดภัยตลอดจนสามารถรู้จักเลือกทางชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง
  2. 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
  3. 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
  5. 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  6. 6. เพื่อสร้างความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชนตำบลบาโงสะโต
  7. 7. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง
    2. เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
    3. เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    4. เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    5. เด็กและเยาวชนมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
    6. เด็กและเยาวชนมีความสามัคคีในหมู่คณะ
    7. เด็กและเยาวชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชน 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อห่างไกลยาเสพติด

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชน
    • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อห่างไกลยาเสพติด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง 2.เด็กและเยาวชน  ทำความดี  ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
    3.เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ    การป้องกันโรค  และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 5.เด็กและเยาวชนมีความสามัคคีในหมู่คณะ
    6.เด็กและเยาวชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

     

    80 80

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพให้เด็กและเยาวชน จำนวน  80  คน
    2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อห่างไกลยาเสพติด จำนวน  80  คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด :

     

    6 6. เพื่อสร้างความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชนตำบลบาโงสะโต
    ตัวชี้วัด :

     

    7 7. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง (2) 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด (3) 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน (5) 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ (6) 6. เพื่อสร้างความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชนตำบลบาโงสะโต (7) 7. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L8423-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอดิศักดิ์ มะแซกูเบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด