กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนัจญ์มะฮ์ เลิศอริยะพงษ์กุล) หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 26 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,445.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่ยังคงปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญลำดับต้นของปัญหาสุขภาพของโลกในปัจจุบัน รวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) จะมีจำนวนคนสูบบุหรี่มากกว่าหลายๆ จังหวัดในประเทศไทย จังหวัดยะลามี 8 อำเภอ 58 ตำบล 380หมู่บ้าน มีประชากร จำนวน 448,326 คน เป็นเพศชาย 219,165 คน เพศหญิง 229,161 คนนับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 79.60 ศาสนาพุทธ ร้อยละ 20.13 และศาสนาอื่นๆร้อยละ 0.27 (Health Data Center ณ 31 ธันวาคม 2559) สถานการณ์การสูบบุหรี่ ในประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ของจังหวัดยะลายังคงสูงกว่าหลายจังหวัดของประเทศไทยและบางจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 12 โดยมีอัตราการสูบบุหรี่ในปี พ.ศ. 2550, 2554, 2557 และ 2558 ร้อยละ 23.32, 24.01, 29.13 และ 21.38 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าอัตราการสูบบุหรี่มีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในปี 2558 (ลำดับที่ 34 ของประเทศ) โดยในเขตเทศบาลนครยะลามีหน่วยบริการเพื่อเลิกบุหรี่ทั้งสิ้น 27 หน่วย โดยจากข้อมูลความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา มีประชากรวัยนี้ทั้งสิ้น 99,691 ราย มีผู้ที่ติดบุหรี่ ทั้งสิ้น 4,735 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.75 (ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดยะลา อำเภอเมืองยะลา ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข) อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าอัตราการสูบบุหรี่ของจังหวัดยะลาจะต่ำกว่าในภาพรวมของเขตสุขภาพที่ 12 แต่ก็ยังสูงกว่าระดับประเทศและสถานที่สาธารณะที่พบเห็นการสูบบุหรี่มากที่สุด คือ ตลาดสดหรือตลาดนัด ร้อยละ 89.0 รองลงมา คือ ร้านอาหาร/ภัตตาคาร สถานีขนส่งสาธารณะ ศาสนสถาน อาคารสถานที่ราชการ สถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และอาคารมหาวิทยาลัยร้อยละ 81.2, 65.6, 49.9, 34.9, 21.8, 23.3 และ17.1 ตามลำดับ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) จากการสำรวจในสถานศึกษาพบว่าสาเหตุสำคัญที่ทำให้ติดบุหรี่คือทำตามเพื่อน เพราะเห็นเพื่อนๆ บางคนสูบโดยอ้างว่าเพื่อจะเข้าสังคมกับเพื่อนได้ สภาพแวดล้อมภายในครอบครัวชักนำ เกิดจากสมาชิกบางคนในครอบครัวสูบบุหรี่ เช่น พ่อ แม่ ลุง น้า จึงต้องการเอาอย่างบ้าง ความอยากทดลอง เพราะอยากรู้อยากเห็นยึดถือค่านิยมผิด ๆ คิดว่าการสูบบุหรี่เป็นการโก้เก๋ หรือเป็นลูกผู้ชายอิทธิพลจากการโฆษณาของสื่อมวลชน ทั้งจากภาพยนตร์ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ความเชื้อที่ผิดๆ เช่น เชื่อว่าเมื่อสูบบุหรี่จะทำให้สมองปลอดโปร่ง จิตใจเเจ่มใส และไม่ง่วงนอน เป็นต้น (ปัญหาบุหรี่ภายในรงเรียน ) ประกอบกับการเข้าถึงแหล่งซื้อสามารถเข้าถึงได้ง่ายโดยเฉพาะบุหรี่ผิดกฎหมายจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมีราคาถูกกว่าบุหรี่โรงงานภายในประเทศนอกจากนั้นและไม่ตระหนักถึงปัญหาจากการสูบบุหรี่ที่ส่งผลสุขภาพระยะยาว และเป็นปัญหาที่สำคัญ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมอง และโรคมะเร็งปอด ซึ่งมีอัตราป่วยตายสูงขึ้นทุกๆปี
จากสภาพปัญหาดังกล่าวทางชมรม TO BE NUMBER ONE วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา ได้เล็งเห็นผลต่อสุขภาพที่จะตามมา ประกอบกับความเชื่อที่ยังเข้าใจกันไม่ถูกต้อง และยังพบว่ามีผู้สูบบุหรี่ที่ต้องการการบำบัดรักษาถึง 183 รายอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ชุมชนสันติสุข จำนวน 11 ราย จากประชากร 693 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.59 จึงได้จัดโครงการนี้เกิดขึ้นเพื่อสร้างความตระหนัก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในนักศึกษา ประชาชนและป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ที่จะเกิดขึ้น โดยจะดำเนินงานในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา และชุมชนต้นแบบคือชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย4) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า ชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
  2. 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่
  3. 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่
  4. 4. เพื่อสร้างแกนนำเข้มแข็งในชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า เขตเทศบาลนครยะลา
  5. 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการและสรุปผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับตัวแทนชุมชนสันติสุข(ตลาดเก่า ซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน จำนวน 2 ครั้ง (ก่อนและหลัง)
  2. กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่กับสุขภาพ ให้แก่ แกนนำ To be number one จากนักศึกษาชั้นปี 1, 2, 3, 4 และบุคลากรชายและหญิง จำนวน 100 คน และทีมและผู้จัดโครงการ จำนวน 10 คน รวมเป็น 110 คน ระยะเวลา 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 การสำรวจข้อมูล โดยทีมผู้จัดโครงการ และนักศึกษาพยาบาลแกนนำลงพื้นที่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่า ซอย 4 ) เป้าหมายประชาชนในพื้นที่ จำนวน 500 คน -ข้อมูลบริบทและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในชุมชน
  4. กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องพิษภัยของบุหรี่ ให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 100 คน และทีมผู้จัดโครงการ จำนวน 20 คน รวมเป็น 120 คน ระยะเวลา 1 วัน
  5. กิจกรรมที่ 5 การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
  6. กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมรณรงค์ลงพื้นที่ตามวัด มัสยิดที่อยู่ในชุมชน ร้านชาและกาแฟ ในชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4)
  7. กิจกรรมที่ 7 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องแนวทางในการเลิกบุหรี่ให้กับผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่ในชุมชนจำนวน 30 คน และทีมผู้จัดโครงการจำนวน 10 คน รวมเป็น 40 คน ระยะเวลา 1 วัน
  8. กิจกรรมที่ 8 การติดตามเยี่ยมบ้านผู้เลิกบุหรี่ ติดตามจำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 2 วัน (เดือนที่ 1 3 และ 6 เดือน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่าลดลง
  2. อัตราการการสูบของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่ลดลง
  3. มีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่
  4. สร้างแกนนำเข้มแข็งใน ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4 ) อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า ชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 80 2. ลดอัตราการสูบบุหรี่ของชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า ร้อยละ 30
30.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : 3. ลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 80
80.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่
ตัวชี้วัด : 4. มีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่ร้อยละ 80
80.00

 

4 4. เพื่อสร้างแกนนำเข้มแข็งในชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า เขตเทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 5. เกิดแกนนำในชุมชนร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วมโครงการ
60.00

 

5 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : 6. ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 610
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า ชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า อำเภอเมือง จังหวัดยะลา (2) 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่ (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่ (4) 4. เพื่อสร้างแกนนำเข้มแข็งในชุมชนซอย 4 ตลาดเก่า เขตเทศบาลนครยะลา (5) 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการและสรุปผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับตัวแทนชุมชนสันติสุข(ตลาดเก่า ซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน จำนวน 2 ครั้ง (ก่อนและหลัง) (2) กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่กับสุขภาพ ให้แก่ แกนนำ To be number one จากนักศึกษาชั้นปี 1, 2, 3, 4 และบุคลากรชายและหญิง จำนวน 100 คน และทีมและผู้จัดโครงการ จำนวน 10 คน รวมเป็น 110 คน ระยะเวลา 1 วัน (3) กิจกรรมที่ 3 การสำรวจข้อมูล โดยทีมผู้จัดโครงการ และนักศึกษาพยาบาลแกนนำลงพื้นที่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่า ซอย 4 ) เป้าหมายประชาชนในพื้นที่ จำนวน 500 คน  -ข้อมูลบริบทและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในชุมชน (4) กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องพิษภัยของบุหรี่ ให้แก่ ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 100 คน และทีมผู้จัดโครงการ จำนวน 20 คน รวมเป็น 120 คน ระยะเวลา 1 วัน (5) กิจกรรมที่ 5 การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (6) กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมรณรงค์ลงพื้นที่ตามวัด มัสยิดที่อยู่ในชุมชน ร้านชาและกาแฟ ในชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) (7) กิจกรรมที่ 7 การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องแนวทางในการเลิกบุหรี่ให้กับผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่ในชุมชนจำนวน 30 คน และทีมผู้จัดโครงการจำนวน 10 คน รวมเป็น 40 คน ระยะเวลา 1 วัน (8) กิจกรรมที่ 8 การติดตามเยี่ยมบ้านผู้เลิกบุหรี่ ติดตามจำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 2 วัน (เดือนที่ 1 3 และ 6 เดือน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาสู่การป้องกันพิษภัยบุหรี่ชุมชนสันติสุข (ตลาดเก่าซอย 4) เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนัจญ์มะฮ์ เลิศอริยะพงษ์กุล) หัวหน้าโครงการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด