กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ


“ โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ”

ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-50115-3-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2562 ถึง 29 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-50115-3-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2562 - 29 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีที่จะอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมได้อย่างมีความสุข สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทีมีการจัดการควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อและขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณทางร่างการ สังคม อารมณ์ จิตใจแสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และเด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อมอันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมที่ดีทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ได้รับดำเนินการโครงการด้านการดูแลสุขภาพ เพื่อดูแลความสะอาดของเด็กปฐมวัยได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้บูรณาการงานด้านส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 54
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง 54

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง มีสุขภาพอนามัยที่ดีทุกคน -ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและมีความรู้ความเข้าใจในสุขภาพอนามัยของเด็กที่อยู่ในความดูแลของตนเองได้เป็นอย่างดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

วันที่ 22 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็ก เรื่องการดูแลสุขภาพฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย ได้เสร็จสิ้นเรียบร้อนแล้ว ผลการดำเนินงานปรากฏว่า ผู้ปกครองให้ความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี การร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ ความรู้และทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี ในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็ก และได้ทาฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุด้วย เพื่อฟันที่แข็งแรง มีความพร้อมที่จะเรียนรู้และมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกๆด้าน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความพร้อมมากขึ้นที่จะพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครบทั้ง 4 ด้านร่างกาย อารมณ์  จิตใจ สังคม และสติปัญญา พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธีที่เหมาะสมกับเด็ก เพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น     ในครั้งนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิงได้เก็บข้อมูลจากผู้ปกครองทีเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 54 คน และได้ตอบแบบสอบถามจำนวน 54 คนคิดร้อยละ 100 % ผลทีได้รับจากการวิเคราะห์แสดงถึงความพึงพอใจในการจัดโครงการในครั้งนี้ ผลปรากฏ ร้อยละ 36 .5 อยู่ในเกณฑ์ระดับมากที่สุด  ซึ่งบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และลุล่วงไปด้วยดี

 

54 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง ได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย ได้เสร็จสิ้นเรียบร้อนแล้ว ผลการดำเนินงานปรากฏว่า ผู้ปกครองให้ความสนใจและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี การร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ ความรู้และทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี ในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็ก และได้ทาฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุด้วย เพื่อฟันที่แข็งแรง มีความพร้อมที่จะเรียนรู้และมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกๆด้าน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความพร้อมมากขึ้นที่จะพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครบทั้ง 4 ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธีที่เหมาะสมกับเด็ก เพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น   ในครั้งนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิงได้เก็บข้อมูลจากผู้ปกครองทีเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย จากผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 54 คน และได้ตอบแบบสอบถามจำนวน 54 คนคิดร้อยละ 100 % ผลทีได้รับจากการวิเคราะห์แสดงถึงความพึงพอใจในการจัดโครงการในครั้งนี้ ผลปรากฏ ร้อยละ 36 .5 อยู่ในเกณฑ์ระดับมากที่สุด ซึ่งบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และลุล่วงไปด้วยดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)
15.00 5.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 108 108
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 54 54
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 54 54

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-50115-3-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสวยยะห์ ตูวันลอเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด