โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายปวเรศ สีสด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5215-2-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5215-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ถือเป็นปัญหาที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา จากข้อมูลผู้มาขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ของกองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 – ปีงบประมาณ 2561 พบว่าจำนวนผู้ที่มาขึ้นทะเบียนทั้งหมด มีมารดาวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 15 -20 ปี คิดเป็น 1 ใน 4 ของผู้มาขึ้นทะเบียนหรือคิดเป็นร้อยละ 25 และยังพบว่าในกลุ่มนี้มักมีการตั้งครรภ์ซ้ำอีกด้วย ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาอย่างมากมาย ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว ไม่ว่าจะกับตัวของวัยรุ่นเอง ครอบครัว และสังคม เช่น การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การขาดโอกาสทางการศึกษา ปัญหาคุณภาพของประชากรต่ำ ปัญหาสุขภาพมารดาและทารก ปัญหาการทอดทิ้งเด็ก เป็นต้น ซึ่งส่วนหนึ่งของปัจจัยที่ส่งเสริมให้วัยรุ่นไทยมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ก็มาจากปัจจัยเสริมจากภายนอก ทั้งจากตัวของครอบครัวและเพื่อนรอบข้าง โดยพบว่าจากผลการศึกษาที่เกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์และพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น แสดงให้เห็นว่าวัยรุ่นที่มีสัมพันธภาพครอบครัวที่ไม่ดีหรือขาดการเอาใจใส่จากครอบครัว มักมีโอกาสที่จะมีเพศสัมพันธ์มากกว่าวัยรุ่นที่มีสัมพันธภาพของครอบครัวที่ดี เนื่องจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครองไม่ได้ให้คำแนะนำหรือสั่งสอนในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในเรื่องเพศ นอกจากนี้ยังพบอีกว่าในปัจจุบันวัยรุ่นที่ไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดครอบครัวข้ามรุ่น (ผู้สูงอายุกับเด็กอยู่ร่วมกัน) จึงทำให้เกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในครอบครัวที่ห่างกัน ส่งผลให้มีปัญหาการสื่อสารที่ไม่เข้าใจกันมากขึ้น จึงทำให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ในขณะเดียวกัน เพื่อนหรือคนรอบข้าง ก็ถือว่ามีอิทธิพลกับวัยรุ่นค่อนข้างมาก เนื่องจากมีความสนิทใกล้ชิดและได้ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นส่วนใหญ่ จนทำให้วัยรุ่นเกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ และมีอิทธิพลต่อความคิดของวัยรุ่นมากกว่าคนในครอบครัว ซึ่งอาจเกิดการชักนำกันไปในทางที่ไม่เหมาะสมได้
ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น มีทัศนคติที่ดีและมีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศอย่างสร้างสรรค์ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง อันเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับวัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม รวมทั้งเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงและปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ทั้งนี้ยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติพ.ศ.2560-2569 ตามพ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ.2559 ด้วย
สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพราะถ้าหากเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นวัยที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต ขาดการเตรียมความพร้อมและทักษะชีวิตที่เหมาะสม ก็ย่อมส่งผลให้ชุมชนและประเทศมีความอ่อนแอตามไปด้วย จึงได้จัดทำโครงการ “เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น
- 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- 3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
- 4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว
- อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์
- จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
500
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัวสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นได้อย่างเป็นอย่างดี
2. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ได้รับความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
3. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและมีทักษะการสื่อสารในครอบครัวที่เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงดูและการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
4. มีการขยายผลต่อในกลุ่มเด็ก เยาวชน และพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผ่านเครือข่ายการทำงานที่เกิดขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว
วันที่ 26 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว จำนวน 3 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว จำนวน 3 ครั้ง
ครัั้งที่ 1 วันที่ 26 มีนาคม 2562 มีผู้เข้าร่วม 24 คน ณ ทม.เขารูปช้าง
ครัั้งที่ 2 วันที่ 19 เมษายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 43 คน ณ โรงแรมกรีนเวิลด์ พาเลซ
ครัั้งที่ 3 วันที่ 20 มิถุนายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 23 คน ณ บ.แมนเอ โฟรสเซน ฟูดส์ จำกัด
90
0
2. อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์
วันที่ 27 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ จำนวน 3 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ จำนวน 3 ครั้ง ณ ม.ทักษิณ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 27 มีนาคม 2562 มีผู้เข้าร่วม 53 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 13 มิถุนายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 85 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 18 กันายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 51 คน
189
0
3. จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
วันที่ 28 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น จำนวน 2 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น จำนวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 28 มีนาคม 2562 ณ ถนนคนเดิน ม.ราชภัฏสงขลา มีผู้เข้าร่วม 89 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 22 สิงหาคม 2562 ณ ถนนคนเดิน ม.ราชภัฏสงขลา มีผู้เข้าร่วม 141 คน
120
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น
ตัวชี้วัด : 1. ปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นลดลงน้อยกว่าร้อยละ 25
0.00
2
2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : 2. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00
3
3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 3. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศกับบุตรหลานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00
4
4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 4. เกิดเครือข่ายในการทำงานที่สามารถนำความรู้ไปขยายผลต่อเพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า 3 เครือข่าย/องค์กร
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
500
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (3) 3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น (4) 4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว (2) อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ (3) จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5215-2-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปวเรศ สีสด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายปวเรศ สีสด
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5215-2-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5215-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ถือเป็นปัญหาที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา จากข้อมูลผู้มาขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ของกองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 – ปีงบประมาณ 2561 พบว่าจำนวนผู้ที่มาขึ้นทะเบียนทั้งหมด มีมารดาวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 15 -20 ปี คิดเป็น 1 ใน 4 ของผู้มาขึ้นทะเบียนหรือคิดเป็นร้อยละ 25 และยังพบว่าในกลุ่มนี้มักมีการตั้งครรภ์ซ้ำอีกด้วย ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมาอย่างมากมาย ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว ไม่ว่าจะกับตัวของวัยรุ่นเอง ครอบครัว และสังคม เช่น การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การขาดโอกาสทางการศึกษา ปัญหาคุณภาพของประชากรต่ำ ปัญหาสุขภาพมารดาและทารก ปัญหาการทอดทิ้งเด็ก เป็นต้น ซึ่งส่วนหนึ่งของปัจจัยที่ส่งเสริมให้วัยรุ่นไทยมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ก็มาจากปัจจัยเสริมจากภายนอก ทั้งจากตัวของครอบครัวและเพื่อนรอบข้าง โดยพบว่าจากผลการศึกษาที่เกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์และพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น แสดงให้เห็นว่าวัยรุ่นที่มีสัมพันธภาพครอบครัวที่ไม่ดีหรือขาดการเอาใจใส่จากครอบครัว มักมีโอกาสที่จะมีเพศสัมพันธ์มากกว่าวัยรุ่นที่มีสัมพันธภาพของครอบครัวที่ดี เนื่องจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครองไม่ได้ให้คำแนะนำหรือสั่งสอนในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในเรื่องเพศ นอกจากนี้ยังพบอีกว่าในปัจจุบันวัยรุ่นที่ไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดครอบครัวข้ามรุ่น (ผู้สูงอายุกับเด็กอยู่ร่วมกัน) จึงทำให้เกิดช่องว่างระหว่างวัยของคนในครอบครัวที่ห่างกัน ส่งผลให้มีปัญหาการสื่อสารที่ไม่เข้าใจกันมากขึ้น จึงทำให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ในขณะเดียวกัน เพื่อนหรือคนรอบข้าง ก็ถือว่ามีอิทธิพลกับวัยรุ่นค่อนข้างมาก เนื่องจากมีความสนิทใกล้ชิดและได้ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นส่วนใหญ่ จนทำให้วัยรุ่นเกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ และมีอิทธิพลต่อความคิดของวัยรุ่นมากกว่าคนในครอบครัว ซึ่งอาจเกิดการชักนำกันไปในทางที่ไม่เหมาะสมได้ ดังนั้นการส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น มีทัศนคติที่ดีและมีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศอย่างสร้างสรรค์ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง อันเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับวัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม รวมทั้งเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงและปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ทั้งนี้ยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติพ.ศ.2560-2569 ตามพ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ.2559 ด้วย สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพราะถ้าหากเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นวัยที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต ขาดการเตรียมความพร้อมและทักษะชีวิตที่เหมาะสม ก็ย่อมส่งผลให้ชุมชนและประเทศมีความอ่อนแอตามไปด้วย จึงได้จัดทำโครงการ “เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น
- 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- 3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
- 4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว
- อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์
- จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 500 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัวสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นได้อย่างเป็นอย่างดี 2. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ได้รับความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น 3. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและมีทักษะการสื่อสารในครอบครัวที่เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงดูและการสร้างสัมพันธภาพที่ดี 4. มีการขยายผลต่อในกลุ่มเด็ก เยาวชน และพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผ่านเครือข่ายการทำงานที่เกิดขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำสัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว จำนวน 3 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว จำนวน 3 ครั้ง
|
90 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ จำนวน 3 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ จำนวน 3 ครั้ง ณ ม.ทักษิณ ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 27 มีนาคม 2562 มีผู้เข้าร่วม 53 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 13 มิถุนายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 85 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 18 กันายน 2562 มีผู้เข้าร่วม 51 คน
|
189 | 0 |
3. จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น จำนวน 2 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 28 มีนาคม 2562 ณ ถนนคนเดิน ม.ราชภัฏสงขลา มีผู้เข้าร่วม 89 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 22 สิงหาคม 2562 ณ ถนนคนเดิน ม.ราชภัฏสงขลา มีผู้เข้าร่วม 141 คน
|
120 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น ตัวชี้วัด : 1. ปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นลดลงน้อยกว่าร้อยละ 25 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : 2. เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ตัวชี้วัด : 3. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศกับบุตรหลานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา ตัวชี้วัด : 4. เกิดเครือข่ายในการทำงานที่สามารถนำความรู้ไปขยายผลต่อเพิ่มมากขึ้น ไม่น้อยกว่า 3 เครือข่าย/องค์กร |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 500 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 500 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว ในการลดปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและผลกระทบจากการใช้ชีวิตช่วงวัยรุ่นอื่นๆ เช่น ยาเสพติด ความรุนแรง เป็นต้น (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจด้านเพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (3) 3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของครอบครัวในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ มีทัศนคติเชิงบวกและสามารถสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น (4) 4. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว นำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลกับเพื่อนๆในสถานศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สัมมนาส่งเสริมทักษะการสื่อสารเชิงบวกอย่างสร้างสรรค์ในครอบครัว (2) อบรมให้ความรู้เด็กและเยาวชนเรื่อง การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ (3) จัดนิทรรศการเรื่องสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมสร้างภูมคุ้มกันให้แก่เด็ก เยาวชนและสมาชิกในครอบครัว จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L5215-2-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปวเรศ สีสด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......