กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562 ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ จันทร์ศิริ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-l7255-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-l7255-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนคือเด็กที่มีอายุระหว่าง 6-19 ปี ซึ่งกำลังศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โรงเรียนเป็นที่รวมของเด็กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคมพื้นฐานที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มีศักยภาพ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังความรู้เจตคติและ พฤติกรรมทุกๆ ด้านแก่เด็กวัยเรียน รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพ แต่เนื่องจากโรงเรียนเป็นที่รวมของเด็ก ในชุมชนที่มาจากครอบครัวที่ต่างกัน จึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บทั้งโรคติดต่อและ โรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง เมื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยด้วย โรคติดต่อมาโรงเรียนมีโอกาสจะแพร่เชื้อโรคไปสู่นักเรียนคนอื่นๆ ได้ง่ายจากการเล่น คลุกคลีกันทำ กิจกรรมร่วมกัน เมื่อเด็กป่วยเหล่านี้กลับไปบ้านย่อมมีโอกาสแพร่กระจายเชื้อโรคสู่บุคคลในครอบครัว และชุมชน โรงเรียนจึงเป็นสถานที่ที่สำคัญมากแห่งหนึ่งต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยต้องมี การให้ความรู้ปลูกฝังเจตคติเสริมสร้างทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง รวมทั้งจัดการ ควบคุมปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมของโรงเรียนไม่ให้เกิดภาวะเสี่ยงหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อให้ โรงเรียนเป็นสถานที่มีสุขอนามัยที่ดีสามารถศึกษาเล่าเรียนได้เต็มศักยภาพ เกิดการเรียนรู้ด้านสุขภาพ ที่ถูกต้องและมีสุขนิสัยที่ดีติดตัวไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งพบว่าปัญหาสุขภาพของเด็กในโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคหวัด โรคเหา โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก ตลอดจนภาวะโภชนาการในนักเรียน โรคต่างๆนี้เป็นโรคที่เกิดจากวิทยาส่วนบุคคลของนักเรียนทั้งสิ้น จึงจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมการให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแห เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลเมืองคลองแห จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียน การให้ความรู้ด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล การป้องกันและรักษาโรคเบื้องต้น การตรวจสุขภาพตนเอง เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพตนเองให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
  2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
  3. เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
  4. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
  5. เพื่อเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาสุขภาพนักเรียน
  6. เพื่อให้บริการด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคตามฤดูกาล โรคที่พบบ่อยในนักเรียน เช่น โรคเหา โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดอก โรคหัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 232
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยาส่วนบุคคล 2) นักเรียนทุกคนได้รับบริการสุขภาพ โดยการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
3) นักเรียนที่ตรวจพบเหาได้รับการใส่ยาการกำจัดเหา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคตามฤดูกาล โรคที่พบบ่อยในนักเรียน เช่น โรคเหา โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดอก โรคหัด

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๒. ดำเนินกิจกรรมการอบรม 2.1 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคตามฤดูกาล โรคที่พบบ่อยในนักเรียน เช่น โรคเหา โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคหัด
2.2 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลในนักเรียน
2.3 การตรวจสุขภาพให้แก่นักเรียน
2.4 การใส่ยากำจัดเหาให้แก่นักเรียนที่พบเหา
3. สรุปและประเมินผลโครงการ
เวลา กิจกรรม 08.00 น. – 08.15 น. ลงทะเบียน
08.15 น. – 08.30 น. พิธีเปิด
08.30 น. – 10.00 น. บรรยาย เรื่องภาวะโภชนาการในนักเรียน
10.00 น. – 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.15 น. – 11.45 น. - บรรยาย เรื่อง การป้องกันโรคตามฤดูกาล ( โรคหัด  โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคเหา เป็นต้น)
11.45 น. – 12.45 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน
12.45 น. – 14.15 น. - การบรรยาย เรื่อง สุขวิทยาส่วนบุคคล
12.45 น. – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
12.45 น. – 15.30 น. - การฝึกปฏิบัติการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
- การใส่ยากำจัดเหา

  หมายเหตุ : กิจกรรมการเรียนรู้อาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยาส่วนบุคคล 2) นักเรียนทุกคนได้รับบริการสุขภาพ  โดยการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
3) นักเรียนที่ตรวจพบเหาได้รับการใส่ยาการกำจัดเหา

 

232 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
200.00 100.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)
50.00 30.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)
55.00 50.00

 

4 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนจะได้มีความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคลมากขึ้น
80.00

 

5 เพื่อเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาสุขภาพนักเรียน
ตัวชี้วัด : ปัญหาด้านสุขภาพเด็กนักเรียนจะลดน้อยลง
80.00

 

6 เพื่อให้บริการด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : สุขภาพเด็กนักเรียนจะดีขึ้น
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 232
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 232
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (2) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (3) เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย (4) เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล (5) เพื่อเฝ้าระวัง และแก้ปัญหาสุขภาพนักเรียน (6) เพื่อให้บริการด้านสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคตามฤดูกาล โรคที่พบบ่อยในนักเรียน เช่น โรคเหา โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดอก โรคหัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมให้ความรู้สุขภาพเด็กในโรงเรียน ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-l7255-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรทิพย์ จันทร์ศิริ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด