โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เขตเทศบาลนครตรัง 11 ชุมชน ปี 2561 มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งสิ้น 199 คน ได้รับการสำรวจจาก อสม. ในพื้นที่ 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง พบหญิงตั้งครรภ์อยู่จริงในพื้นที่ 162 คน อยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 37 คน หญิงหลังคลอดทั้งสิ้น 124 คน ได้รับการลงเยี่ยมมารดาหลังคลอดจากพยาบาลประจำชุมชน ในพื้นที่พบหญิงหลังคลอดอยู่จริงในพื้นที่ 67 คน หญิงหลังคลอดอยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 57 คน รอคลอด 38 คน มาฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 51 คน มาฝากครรภืไม่ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 16 คน พบว่า หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากตั้งครรภ์ ครั้งที่ 1 จำนวน 6 คน หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากครรภ์ ครั้งที่1,2 จำนวน 5 คน หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากครรภ์ (No ANC) จำนวน 5 คน มารดาคลอดปกติ 36 คน คลอดผิดปกติ 31 คน เด็กแรกคลอดปกติ 66 คน คลอดก่อนกำหนด 1 คน ทารกเสียชีวิต(มารดาไม่ได้รับการฝากครรภ์ (์No ANC)) มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 4 คน พบว่าเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม เกิดจากมารดาที่ไม่ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งที่ 1 จำนวน 2 คน และเกิดจากมารดาไม่ได้รับการฝากครรภ์ (์No ANC) จำนวน 1 คน
กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการดูแลส่งเสริมสุขภาพให้เกิดการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพขึ้น จึงได้จัดทำ "โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562" เพื่อให้แม่เกิดรอด ลูกปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
- เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
- หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%)
- หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
- กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ได้รับการดูแลและฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
2.ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2500 กรัม
3.หญฺิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง
4.หญิงครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยง ได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
วันที่ 1 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน โดย อสม.และทีมสหวิชาชีพ พร้อมแจกคู่มือให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์
90
0
2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
วันที่ 9 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน พร่้อมทั้งแจกคู่มือในการให้ความรู้แก่ อสม. สำหรับใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 65 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรับ (11ชุมชน) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
0.00
2
เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน ) มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
0.00
3
หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%)
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ทุกคนได้รับการดูแลรับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน (150-200 ไมโครกรัม) ธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัม และโฟเลต 400 ไมโครกรัม
0.00
4
หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงทุกคน ได้รับการฝากครรภืที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) (2) เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม (3) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%) (4) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน (2) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เขตเทศบาลนครตรัง 11 ชุมชน ปี 2561 มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งสิ้น 199 คน ได้รับการสำรวจจาก อสม. ในพื้นที่ 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง พบหญิงตั้งครรภ์อยู่จริงในพื้นที่ 162 คน อยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 37 คน หญิงหลังคลอดทั้งสิ้น 124 คน ได้รับการลงเยี่ยมมารดาหลังคลอดจากพยาบาลประจำชุมชน ในพื้นที่พบหญิงหลังคลอดอยู่จริงในพื้นที่ 67 คน หญิงหลังคลอดอยู่นอกพื้นที่ 11 ชุมชน 57 คน รอคลอด 38 คน มาฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 51 คน มาฝากครรภืไม่ครบตามเกณฑ์ 5 ครั้ง 16 คน พบว่า หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากตั้งครรภ์ ครั้งที่ 1 จำนวน 6 คน หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากครรภ์ ครั้งที่1,2 จำนวน 5 คน หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้มาฝากครรภ์ (No ANC) จำนวน 5 คน มารดาคลอดปกติ 36 คน คลอดผิดปกติ 31 คน เด็กแรกคลอดปกติ 66 คน คลอดก่อนกำหนด 1 คน ทารกเสียชีวิต(มารดาไม่ได้รับการฝากครรภ์ (์No ANC)) มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 4 คน พบว่าเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม เกิดจากมารดาที่ไม่ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งที่ 1 จำนวน 2 คน และเกิดจากมารดาไม่ได้รับการฝากครรภ์ (์No ANC) จำนวน 1 คน
กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการดูแลส่งเสริมสุขภาพให้เกิดการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพขึ้น จึงได้จัดทำ "โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562" เพื่อให้แม่เกิดรอด ลูกปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์)
- เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม
- หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%)
- หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
- กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ได้รับการดูแลและฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 2.ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2500 กรัม 3.หญฺิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง 4.หญิงครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยง ได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน โดย อสม.และทีมสหวิชาชีพ พร้อมแจกคู่มือให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์
|
90 | 0 |
2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน |
||
วันที่ 9 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน พร่้อมทั้งแจกคู่มือในการให้ความรู้แก่ อสม. สำหรับใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 65 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรับ (11ชุมชน) ได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน ) มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 |
0.00 |
|
||
3 | หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%) ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ทุกคนได้รับการดูแลรับประทานยาเม็ดเสริมไอโอดีน (150-200 ไมโครกรัม) ธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัม และโฟเลต 400 ไมโครกรัม |
0.00 |
|
||
4 | หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงทุกคน ได้รับการฝากครรภืที่คลินิกครรภ์เสี่ยง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ได้รับการดุแลครบตามเกณฑ์ (5 ครั้ง ตามเกณฑ์) (2) เพื่อให้ทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) มีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม (3) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ไม่มีภาวะโลหิตจาง (Hct>33%) (4) หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลนครตรัง (11 ชุมชน) ที่มีภาวะครรภ์เสี่ยงได้รับการฝากครรภ์ที่คลินิกครรภ์เสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน (2) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการครรภ์คุณภาพ ปี 2562 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2562-L6896-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......