กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิด-6ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐาานของการพัฒนการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมอง ซึ่งเติบโตถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกเหนือจากการอยู่รอดปลอดภัย โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตซึ่งรเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดทั้้ายด้านร่างกายและสมอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน รวมทั้งการกระตุ้นให้มีการพัฒนาได้เต็มศักยภาพ หากเด็กวัยนี้ได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์อย่างถูกต้อง โดยมีครอบครัวเป็นหลักเหมาะสมกับวัยแล้ว เด้กก็จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆต่อไป การที่เด็กแรกเกิด-6 ปี จะได้รับการพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพและเจริญเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพจำเป็นที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่่วมมือกันให้การดูแล ได้แก่ ครอบรัว บิดา มารดา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และครู ในการติดตามการได้รับวัคซีน โภชนาการ พัฒนาการ ใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรังมีเด็กแรกเกิด-6ปี จำนวน 461 คน จำนวนเด็กที่เฝ้าระวังทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 92.8 จำนวน 428 คน ภาวะโภชนาการน้ำหนัก/อายุ ตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 74.4 เกินเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 12.1 ค่อนข้างมากคิดเป็นร้อยละ 5.9 ค่อนข้างน้อยคิดเป็นร้อยละ 5.3 น้อยคิดเป็นร้อยละ 2.3 ภาวะโภชนาการสูง/อายุตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 74.4 สูงคิดเป็นร้อยละ 6.6 ค่อนข้างสูงคิดเป็นร้อยละ 5.0 ค่อนข้างเตี้ยคิดเป็นร้อยละ 5.5 เตี้ยคิดเป็นร้อยละ 8.2 ภาวะโภชนาการน้ำหนัก/สูง สมส่วนคิดเป็นร้อยละ 65.1 อ้วนคิดเป็นร้อยละ 10.5 เริ่มอ้วนคิดเป็นร้อยละ 6.8 ท้ามคิดเป็นร้อยละ 4.6 ค่อนข้างผอมคิดเป็นร้อยละ 5.7 ผอมคิดเป็นร้อยละ 8.7 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนร้อยละ 100 ดังนั้น กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำ "โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562" เพื่อการดูแลส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด-6ปี ได้รับการดูแลในเรื่องการเจริญเติบโต พัฒนาการทางด้านต่างๆของเด้กตามวัยได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ เพื่อการเจริญเติบโตที่สมวัยและอนาคตเป็นสำคัญสำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ
  2. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  3. เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฟื้นฟูองค์ความรู้เรื่องการเทียบเกณฑ์ภาวะโภชนาการ,การได้รับวัคซีน และการพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี แก่ อสม.โดยเจ้าหน้า
  2. กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด้กแรกเกิด-6ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด-6ปี ใน11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี
  3. กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
  4. กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน
  5. กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม. กับพยาบาลประจำชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอย่างน้อยร้อยละ 80
  2. เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่มีปัญหาโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนได้รับการส่งเสริมดุแลอย่างต่อเนื่อง
  3. เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฟื้นฟูองค์ความรู้เรื่องการเทียบเกณฑ์ภาวะโภชนาการ,การได้รับวัคซีน และการพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี แก่ อสม.โดยเจ้าหน้า

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมฟื้นฟูองค์ความรู้เรื่องการเทียบเกณฑ์ภาวะโภชนาการ,การได้รับวัคซีน และการพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี แก่ อสม.โดยเจ้าหน้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนืนกิจกรรมฟื้นฟูองค์ความรู้เรื่องการเทียบเกณฑ์ภาวะโภชนาการ,การได้รับวัคซีน และการพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี แก่ อสม.โดยเจ้าหน้า ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 และได้แจกคู่มือการติดตามโภชนาการ/วัคซีนและพัฒนาการเด็ก

 

100 0

2. กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน

วันที่ 1 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี ใน 11 ชุมชน

 

0 0

3. กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด้กแรกเกิด-6ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด-6ปี ใน11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด้กแรกเกิด-6ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด-6ปี ใน11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการสำรวจเด้กแรกเกิด-6ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด-6ปี ใน11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี ดำเนินการโดยมีวัสดุอุกปรณ์ในการปฏิบัติงาน พร้อมคู่มือบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการ จำนวน 89 เล่ม โดย อสม

 

0 0

4. กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม. กับพยาบาลประจำชุมชน

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม. กับพยาบาลประจำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม. กับพยาบาลประจำชุมชน ใน 11 ชุมชน

 

0 0

5. กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์

วันที่ 1 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการอย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีนได้รับการส่งเสริมดูแลอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด-6ปี ในเขตรับผิดชอบ 11 ชุมชน ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลทุกคน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ (2) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน ให้ได้ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี (3) เพื่อส่งเสริมเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ด้อยโอกาสและมีปัญหาสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูองค์ความรู้เรื่องการเทียบเกณฑ์ภาวะโภชนาการ,การได้รับวัคซีน และการพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี แก่ อสม.โดยเจ้าหน้า (2) กิจกรรมดำเนินการสำรวจเด้กแรกเกิด-6ปี ในละแวกที่รับผิดชอบพร้อมทั้งชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด-6ปี ใน11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ทุก 3 เดือนจำนวน 4 ครั้ง/ปี (3) กิจกรรมติดตามการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิด-6ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (4) กิจกรรมการประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน (5) กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ,พัฒนาการ พร้อมให้คำปรึกษา เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชนโดยการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่าง อสม. กับพยาบาลประจำชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ/พัฒนาการ/วัคซีน เด็กแรกเกิด-6ปี ในชุมชน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด