กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 129,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง เป็นโรคเรื้อรังที่สำคัญ และเป็นปัญหาสาธารณสุขของจังหวัดตรัง เนื่องจากเป้นโรคที่รักษาไม่หายขาดและต้องรักษาอย่างต่อเนื่องหากมีการดูแลตนเองไม่ถูกต้องจนเกิดภาวะแทรกซ้อน จากสถิติ การเจ็บป่วยของู้รับบริการในเขตเทศบาลนครตรัง 5 อันดับโรค ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลตรัง มีดังต่อไปนี้ 1.โรคความดันโลหิตสูง 2,042 คน 2.โรคเบาหวาน 1,011 คน 3.โรคหัวใจ 1,001 คน 4.โรคหลอดเลือดสมอง 517 คน 5. โรคมะเร็ง 507 คน ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง มีองค์กรในชุมชนที่สำคัญในการขับเคลื่อนด้านสุขภาพภาคประชาชนที่เข้มแข็งคือ อาสาสมัครสาธารณสุข และจากการคัดกรองประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และยังพบผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนป่วยเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรังมีผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และได้รับยาอยู่ในชุมชน พร้อมทั้งให้การดูแลส่งเสริมสุขภาพทั้งสิ้น จำนวน 806 คน และผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ขาดยา รับยาไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากติดภารกิจ และเป็นทั้งผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งอาจส่งผลต่อเนื่องถึงคุณภาพชีวิต
กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรังได้ตระหนักถึงปัญญา รวมถึงกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการพัฒนาคุณภาพบริการในด้านต่างๆ ที่เน้นผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลางอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพและการนำเอาชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการบริการที่ดี มีคุณภาพสูงสุดเนื่องจากผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เกิดขึ้นตามมา จำเป็นต้องได้รับการดูแลเฉพาะและต่อเนื่องในบริบทและสิ่งแวดล้อมที่มุ่งเน้นให้ผู้ป่วยและครอบครัวโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สามารุดูแลตนเองได้ มีความเข้าใจในโรคและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพที่ดี โดยให้มีทีมสหวิชาชีพให้บริการคลินิกชุมชนแบบ one stop service และให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้านเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันพึงประสงค์แก่ผู้ป่วยและครอบครัว และเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการทำกิจกรรมด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดัน/เบาหวาน)ตามเกณฑ์มาตรฐานต่อเนื่องและเป็นองค์รวม
  2. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.1จัดทำเอกสารแฟ้มผู้ป่วยและแบบฟอร์ม เอกสารข้อมูลประจำตัวผู้ป่วย)
  2. กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.2 กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบองค์รวมในชุมชน)
  3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว โดยการเยี่ยมบ้านในชุมชนหลังให้บริการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน11ชุมชนเขตเทศบาลนครตรัง เข้าร่วมโครงการและได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องเป็นองค์รวมและได้มาตรฐาน 2.ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.2 กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบองค์รวมในชุมชน)

วันที่ 1 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.2 กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบองค์รวมในชุมชน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน โดยได้ดำเนินการครบทั้ง 27 ชุมชน รวมทั้งสิ้น 24 แห่ง ดำเนินการไทั้งสิ้น 115 ครั้ง มีผู้ป่วยมารับบริการ 750 คน

 

766 0

2. กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.1จัดทำเอกสารแฟ้มผู้ป่วยและแบบฟอร์ม เอกสารข้อมูลประจำตัวผู้ป่วย)

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.1จัดทำเอกสารแฟ้มผู้ป่วยและแบบฟอร์ม เอกสารข้อมูลประจำตัวผู้ป่วย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม
โดยจัดทำเอกสารแฟ้มผู้ป่วยและแบบฟอร์ม เอกสารข้อมูลประจำตัวผู้ป่วย จำนวน 806 คน

 

806 0

3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว โดยการเยี่ยมบ้านในชุมชนหลังให้บริการ

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว โดยการเยี่ยมบ้านในชุมชนหลังให้บริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว โดยการเยี่ยมบ้านในชุมชนหลังให้บริการ โดยทีมงานสหวิชาชีพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดัน/เบาหวาน)ตามเกณฑ์มาตรฐานต่อเนื่องและเป็นองค์รวม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังในเขตเทศบาลนครตรังเข้าร่วมโครงการและได้รับ การดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูบร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดัน/เบาหวาน)ตามเกณฑ์มาตรฐานต่อเนื่องและเป็นองค์รวม (2) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนอันเกิดจากโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.1จัดทำเอกสารแฟ้มผู้ป่วยและแบบฟอร์ม เอกสารข้อมูลประจำตัวผู้ป่วย) (2) กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนแบบองค์รวม (1.2 กิจกรรมการดูแลส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบองค์รวมในชุมชน) (3) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังและครอบครัว โดยการเยี่ยมบ้านในชุมชนหลังให้บริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด