กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมความรู้และป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
รหัสโครงการ 62-L8429-1-22
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสิเกา
วันที่อนุมัติ 25 มิถุนายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,470.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.549,99.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าและมีความรู้เรื่องโรคจิตการสังเกตอาการด้านจิตใจ

ร้อยละ80ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เรื่องในการคัดกรองภาวะซึมเศร้า

80.00
2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเฝ้าระวังติดตาม ดูแล ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและแนวทางการประสานส่งต่อ และการฟื้นฟูสมรรถนะภาพผู้ป่วยโรคจิตได้

ผู้ป่วยโรคจิตได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง ไม่ตำกว่าร้อยละ80

80.00
3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละ65ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคจิตและเข้าสู่การบำบัด

65.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าและมีความรู้เรื่องโรคจิตการสังเกตอาการด้านจิตใจ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเฝ้าระวังติดตาม ดูแล ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคจิตในชุมชนอย่างต่อเนื่องและแนวทางการประสานส่งต่อ และการฟื้นฟูสมรรถนะภาพผู้ป่วยโรคจิตได้

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

19 - 20 ส.ค. 62 จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการโปรแกรม สร้างสุข หัวใจเข้มแข็งเพื่อชุมชนเราและการเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า 14,470.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1จัดทำโครงการสร้างเสริมความรู้และป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 2แต่งตั้งและประชุมคณะทำงาน 3ประชาสัมพันธ์โครงการและเชิญกลุ่มเป้าหมาย 4เตรียมวัสดุอุปกรณ์สื่อสถานที่ 5ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ กิจกรรมที่1ประชุมเชิงโปรแกรมสร้างสุขหัวใจเข้มแข็งเพื่อชุมชนเรา กิจกรรมที่2ประชุมเชิงปฎิบัติการเฝ้าระวังและการดูแลผู้ป่วยโรคจิต 6รายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ลดปัญหาการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยโรคจิตเวช 2การสร้างภาคีเคีือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 3อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จในผู้ป่วยจิตเวชพื้นที่ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2561 12:49 น.