กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางฐิธิดา จันทรกรัด

ชื่อโครงการ โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8429-1-2ุ6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8429-1-2ุ6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับวัยผู้สูงอายุ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ก่อให้เกิดความเสี่ยงทางด้านสุขภาพมากมาย อาทิเช่น ภูมิต้านทานที่ลดลง ระบบอวัยวะที่เสื่อมลงตามอายุ เป็นต้น และเมื่อเกิดการเจ็บป่วยก็มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นง่าย การฟื้นฟูสมรรถภาพก็เป็นไปอย่างช้า ดังนั้นหากเราสามารถป้องกันการเกิดโรคในผู้สูงอายุ ย่อมส่งผลที่ดีกว่าการรักษา และยังสามารถคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีภาวะการหกล้มก็เป็นอีกหนึ่งความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดอันตราย และพบบ่อยในผู้สูงอายุโดยแต่ละปี ๑ใน ๓ของผู้สูงอายุมักประสบการลื่นล้มและครึ่งหนึ่งลื่นล้มมากกว่า ๑ครั้ง เมื่อผู้สูงอายุหกล้มและกระดูกหัก พบว่า ๑ใน ๕ไม่สามารถกลับมาเดินได้อีกและบางส่วนต้องใช้รถเข็นไปตลอด ส่งผลให้ผู้สูงอายุสูญเสียความสามารถในการดูแลตนเองและต้องมีคนดูแลตลอดเวลา มีภาวะสับสน มีปัญหาการเคลื่อนไหวทำให้เกิดอาการซึมเศร้าตามมา ผลกระทบของการหกล้มไม่เพียงส่งผลต่อสูงอายุเท่านั้น ยังส่งผลต่อครอบครัว สังคมและเศรษฐกิจ สำหรับการหกล้มในผู้สูงอายุ หากเกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มที่จะพิการ และเป็นอันตรายถึงชีวิต แต่สามารถป้องกันได้ด้วยการลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการหกล้ม ไม่ว่า จะเป็นการจัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม และการดูแลสภาพร่างกายของผู้สูงอายุเองไม่ให้เสี่ยงต่อการหกล้ม ดังนั้นการให้ความรู้เรื่อง ปัญหาการหกล้มในผู้สูงอายุ การประเมินความเสี่ยงหกล้มด้วยตนเอง การใช้อุปกรณ์ป้องกันการหกล้ม ตลอดทั้งวิธีช่วยเหลือตัวเองให้ปลอดภัยกรณีหกล้มล้วนมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการออกกำลังกายป้องกันการหกล้มเป็นวิธีที่ง่าย สามารถทำเองได้ที่บ้าน หรือรวมตัวทำเป็นกลุ่ม จากความสำคัญดังกล่าว กลุ่มงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน ประจำปี ๒๕๖๒ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพ และสามารถป้องกันการหกล้มได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มและให้ความรู้
  2. เพื่อให้ความรู้ เรื่องการป้องกันการหกล้ม
  3. มีทักษะในการป้องกันการหกล้มและวิธีช่วยเหลือตัวเองกรณีหกล้มได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ประเมินความเสี่ยงล้ม ผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุภาพของตนเอง สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการหกล้มได้
  2. ผู้สูงอายุที่ได้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นได้
  3. ลดอัตราการเกิดภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ประเมินความเสี่ยงล้ม ผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯเพื่อพิจารณาและขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
  2. จัดทำแผนปฏิบัติงาน สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 60 ปีขึ้นไป
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการ และเชิญประชากร กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
  4. ประเมินความเสี่ยงล้มในผู้สูงอายุ
  5. แจ้งผลการประเมินความเสี่ยงล้มแก่ผู้สูงอายุ และให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงหรือรายที่พบความผิดปกติ เรื่องการออกกำลังกาย และวิธีช่วยเหลือตัวเองกรณีพลัดตก หกล้ม 7.สรุปผล/รายงานผลการดำเนินโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุภาพของตนเอง สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการหกล้มได้
  2. ผู้สูงอายุที่ได้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นได้
  3. ลดอัตราการเกิดภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มและให้ความรู้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินความเสี่ยงล้ม
80.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ เรื่องการป้องกันการหกล้ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันการหกล้มเพิ่มขึ้น
80.00

 

3 มีทักษะในการป้องกันการหกล้มและวิธีช่วยเหลือตัวเองกรณีหกล้มได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงหกล้ม สามารถสาธิตย้อนกลับท่าออกกำลังกายเพื่อป้องกันการหกล้ม และวิธีช่วยเหลือตัวเองกรณีหกล้มได้
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองผู้สูงอายุเกี่ยวกับภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มและให้ความรู้ (2) เพื่อให้ความรู้ เรื่องการป้องกันการหกล้ม (3) มีทักษะในการป้องกันการหกล้มและวิธีช่วยเหลือตัวเองกรณีหกล้มได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ประเมินความเสี่ยงล้ม ผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินความเสี่ยงล้มผู้สูงอายุตำบลบ่อหิน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8429-1-2ุ6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฐิธิดา จันทรกรัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด