กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ แสงแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8429-01-28 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8429-01-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข ทำให้อัตราตายด้วยโรคติดเชื้อลดลงมาก ส่งผลให้อัตรารอดชีวิตเพิ่มขึ้น ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ประกอบกับอัตราเกิดลดลง ประเทศไทยจึงก้าวสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว โดยคาดว่าในปี ๒๕๖๘ ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ ๒๐ ซึ่งหมายถึงการเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ แต่อย่างไรก็ตามวัยสูงอายุ เป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ไปในทางเสื่อมถอย จึงมีปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง มะเร็ง สมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า ซึ่งวิธีป้องกันหรือลดปัญหาดังกล่าว ควรคัดกรอง ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ วิธีป้องกันอันตรายและภาวะเสี่ยงแก่ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล สำหรับรายที่พบปัญหาสุขภาพ หรือสงสัยผิดปกติ จะต้องส่งต่อไปรับการประเมิน รักษา หรือแก้ไขปัญหา ตลอดทั้งติดตาม ประเมินผล วางแผนการดูแลร่วมกับผู้ดูแล เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี ทั้งกาย จิต สามารถอยู่ร่วมกับครอบครัว และสังคมได้ดี โรงพยาบาลสิเกาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลอย่างเหมาะสม
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการติดตามผลการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมความรู้และฝึกทักษะเรื่องการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 650
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุในตำบลบ่อหิน คงระยะเวลาที่มีสุขภาวะได้ยาวนานขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมความรู้และฝึกทักษะเรื่องการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการ เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณและการอนุมัติจัดทำโครงการ
  2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผน กำหนดรายละเอียด ขั้นตอนและหน้าที่ ในการจัดกิจกรรมต่างๆ
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เกี่ยวกับการประเมินและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ เชิญผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการประเมิน คัดกรองสุขภาพ
  5. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ
  6. ให้ความรู้เกี่ยวกับ“พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแล
  7. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ อสม.คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ด้านการมองเห็น สภาพสมอง ภาวะซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม การกลั้นปัสสาวะ ปัญหาการนอน ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน สุขภาพช่องปาก
  8. ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ พบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพื่อรับการประเมินและแก้ไขปัญหา
  9. ทีมสุขภาพของโรงพยาบาลสิเกาและรพ.สต.บ้านไร่ออก เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ เพื่อติดตามผลการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  10. ประเมินผลตัวชี้วัด และรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุในตำบลบ่อหิน คงระยะเวลาที่มีสุขภาวะได้ยาวนานขึ้น

 

650 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของผู้สูงอายุในตำบลบ่อหิน ได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และบริการคัดกรองสุขภาพ
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
90.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลเฉพาะด้านจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ
95.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการติดตามผลการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100ของผู้สูงอายุที่ได้รับการรักษาหรือดูแลจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ได้รับการติดตามผลการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 650
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 650
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลอย่างเหมาะสม (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการติดตามผลการรักษา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมความรู้และฝึกทักษะเรื่องการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8429-01-28

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาภรณ์ แสงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด