กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา) ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิตฐาอายุก

ชื่อโครงการ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา)

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6896-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6896-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,265.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้ประชากรโลกมีอายุขัยเฉลี่ยสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือ จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่าสัดส่วนผู้สูงอายุโลก จะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๕.๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓เป็นร้อยละ๙.๗ในปี พ.ศ.๒๕๖๘(United Nation , ๑๙๙๓)สำหรับประเทศไทยพบว่า โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เช่นกัน โดยเพิ่มจาก๕.๘ล้านคน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓เป็น๑๐.๘ล้านคนในปี พ.ศ. ๒๕๖๓(สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ,พ.ศ. ๒๕๓๘)และอายุขัยเฉลี่ยของคนไทยที่สูงขึ้น อายุขัยเฉลี่ยคนไทยโดยรวม พ.ศ. ๒๕๔๓–๒๕๔๘ คือ ๗๐.๒๓ ปี(สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๓๘) เมื่อล่วงเข้าสู่วัยสูงอายุ สภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและลักษณะการเปลี่ยนแปลงจะเป็นไปในทางที่เสื่อม อายุที่มากขึ้นทำให้มีโอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เมื่อเจ็บป่วยจะมีความรุนแรงหายช้า มักมีความพิการหรือพยาธิสภาพต่างๆ ได้เสมอ ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น จากการศึกษาเกี่ยวกับผู้สูงอายุ พบว่า มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของผู้สูงอายุทั้งหมดมีความเจ็บป่วย โดยส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรัง และพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวเรื้อรังอย่างน้อย หนึ่งโรคหรือมากกว่าได้แก่ โรคข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ การได้ยินบกพร่องและโรคต้อกระจก
จากปัญหาภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุที่เกิดจากสมรรถภาพร่างกายเสื่อมลงเป็นผลให้ผู้สูงอายุมีสภาพร่างกายอ่อนแอ มีโรคภัยไข้เจ็บและมีความบกพร่องของร่างกาย การดำรงชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเองของผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องยากลำบากมากขึ้น ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองเกี่ยวกับชีวิตประจำวันลดลงด้านการพึ่งพาช่วยเหลือดูแลจากผู้อื่น โดยความต้องการดูแลจะเพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น มีภาวะพึ่งพาสูงขึ้นนอกจากนั้น ยังพบปัญหาทางเศรษฐกิจการเงินก็เป็นปัญหาสำคัญสำหรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุยังต้องการการช่วยเหลือด้านการเงิน แหล่งรายได้ที่สำคัญของผู้สูงอายุได้จากบุตรหลานและนอกจากนี้ยังพบว่าความต้องการของผู้สูงอายุอีกประการหนึ่งคือ ความต้องการความอบอุ่นทางจิตใจ ซึ่งการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานจะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและจิตใจที่ดี
ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง ๕ ชุมชนมีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 1,792 คน ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง ร่วมกับกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดให้มีโครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน ๕ ชุมชนเขตเทศบาลนครตรัง ปี ๒๕๖๐ (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา) ขึ้น เพื่อให้มีการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมในระยะยาวเพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ทั้งกาย จิต สังคม พร้อมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม
  3. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 600
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านด้วยหัวใจ (การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว) ทั้ง ๓ กลุ่มได้ถูกต้องและต่อเนื่องแบบยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้าน

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.ได้ลงพื้นที่ในชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพและเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้าน

     

    65 594

    2. อบรมอสม. เพื่อการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้ อสม.ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พร้อมทั้งทักษะการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันที่ถูกต้องทั้ง 3 กลุ่มในผู้สูงอายุ ชุมชน 5 ชุมชน 

     

    58 58

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ดำเนินการให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการลงประเมิน/คัดกรองสุขภาพ อสม.จึงมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พร้อมทั้งทักษะการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันที่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลส่งเสริมสุขภาพและเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้านทุกกลุ่มทุกคนในครั้งต่อๆไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม

     

    3 เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนเกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 600
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม (3) เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 5 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 (ชุมชนวิเศษกุล วังตอ ย่านการค้า โคกยูง และชุมชนตรอกปลา) จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6896-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวขนิตฐาอายุก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด