กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางแสงระวี วั่นสิทธิ์




ชื่อโครงการ โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2560-L6896-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L6896-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้ประชากรโลกมีอายุขัยเฉลี่ยสูงขึ้น ผลที่ตามมาคือ จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่าสัดส่วนผู้สูงอายุโลก จะเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๕.๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓เป็นร้อยละ๙.๗ในปี พ.ศ.๒๕๖๘(United Nation , ๑๙๙๓)สำหรับประเทศไทยพบว่า โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เช่นกัน โดยเพิ่มจาก๕.๘ล้านคน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓เป็น๑๐.๘ล้านคนในปี พ.ศ. ๒๕๖๓(สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ,พ.ศ. ๒๕๓๘)และอายุขัยเฉลี่ยของคนไทยที่สูงขึ้น อายุขัยเฉลี่ยคนไทยโดยรวม พ.ศ. ๒๕๔๓–๒๕๔๘ คือ ๗๐.๒๓ ปี(สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๓๘) เมื่อล่วงเข้าสู่วัยสูงอายุ สภาพร่างกาย จิตใจ และสังคม มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและลักษณะการเปลี่ยนแปลงจะเป็นไปในทางที่เสื่อม อายุที่มากขึ้นทำให้มีโอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เมื่อเจ็บป่วยจะมีความรุนแรงหายช้า มักมีความพิการหรือพยาธิสภาพต่างๆ ได้เสมอ ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น จากการศึกษาเกี่ยวกับผู้สูงอายุ พบว่า มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของผู้สูงอายุทั้งหมดมีความเจ็บป่วย โดยส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรัง และพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวเรื้อรังอย่างน้อย หนึ่งโรคหรือมากกว่าได้แก่ โรคข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ การได้ยินบกพร่องและโรคต้อกระจก
จากปัญหาภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุที่เกิดจากสมรรถภาพร่างกายเสื่อมลงเป็นผลให้ผู้สูงอายุมีสภาพร่างกายอ่อนแอ มีโรคภัยไข้เจ็บและมีความบกพร่องของร่างกาย การดำรงชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเองของผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องยากลำบากมากขึ้น ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองเกี่ยวกับชีวิตประจำวันลดลงด้านการพึ่งพาช่วยเหลือดูแลจากผู้อื่น โดยความต้องการดูแลจะเพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น มีภาวะพึ่งพาสูงขึ้นนอกจากนั้น ยังพบปัญหาทางเศรษฐกิจการเงินก็เป็นปัญหาสำคัญสำหรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุยังต้องการการช่วยเหลือด้านการเงิน แหล่งรายได้ที่สำคัญของผู้สูงอายุได้จากบุตรหลานและนอกจากนี้ยังพบว่าความต้องการของผู้สูงอายุอีกประการหนึ่งคือ ความต้องการความอบอุ่นทางจิตใจ ซึ่งการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานจะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและจิตใจที่ดี
ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง 11 ชุมชนมีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 1627 คน ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง ร่วมกับกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดให้มีโครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชนเขตเทศบาลนครตรัง ปี ๒๕๖๐ขึ้น เพื่อให้มีการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมในระยะยาวเพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ทั้งกาย จิต สังคม พร้อมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม
  3. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,700
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านด้วยหัวใจ (การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว) ทั้ง ๓ กลุ่มได้ถูกต้องและต่อเนื่องแบบยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้าน

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม. ได้ลงเยี่ยมบ้านและจัดทำแฟ้มผู้สูงอายุครบทั้ง 11 ชุมชน พร้อมจัดทำเป็นแฟ้มเรียบร้อยได้มาทั้งสิ้น 1855 คน เกินเป้าที่ตั้งไว้ 155 คน

     

    1,700 1,855

    2. อบรมให้ความรู้แก่อสม. เรื่องการลงประเมิน/คัดกรองสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.ได้รับความรู้เรื่องการลงประเมิน/คัดกรองสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ได้ดำเนินการให้ความรู้แก่ อสม. จำนวน 1 ครั้ง เพื่อให้ความรู้เรื่องการลงประเมิน/คัดกรองสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
    2. อสม.ได้ลงเยี่ยมบ้านและจัดทำแฟ้มผู้สูงอายุครบทั้ง 11 ชุมชน พร้อมจัดทำเป็นแฟ้มเรียบร้อยได้มาทั้งสิ้น 1855 คน เกินเป้าที่ตั้งไว้ 155 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้อง

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้อง

     

    3 เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนเกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1700
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,700
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นแกนนำในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนมีข้อมูล/ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกต้องทั้ง ๓ กลุ่ม (3) เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทุกกลุ่มทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวใน 11 ชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2560-L6896-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแสงระวี วั่นสิทธิ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด