กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว ”

รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านลำ

ชื่อโครงการ ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3360-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว



บทคัดย่อ

โครงการ " ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านลำ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในสตรีรองลงมาคือมะเร็งเต้านม อย่างไรก็ตามในปัจจุบันอัตราตายด้วยมะเร็งปากมดลูกลดลงเนื่องจากมีการตรวจวินิจฉัยค้นหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear เพื่อให้การรักษาความผิดปกติเพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง ซึ่งจากการศึกษาขององค์กรวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ(IARC) พบว่า การที่จะลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งนั้น ถ้าสามารถตรวจให้ครอบคลุมประชากรได้จำนวนมากเท่าไร จะลดอัตราการตายได้ดีกว่าความถี่ของการที่สตรีไปรับการตรวจกล่าวคือถ้าสามารถทำการตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกให้ได้ครอบคลุมจำนวนประชากรร้อยละ 80 โดยการทำ Pap Smear ทุกปี จะลดอัตราการตายจากมะเร็งปากมดลูกได้61 %และหากทำการตรวจทุก 3 ปี จะลดลงได้ 61%หรือถ้าทำการตรวจทุก 5 ปีจะสามารถลดลงได้ 55% ซึ่งในทางกลับกันแม้ว่า จะทำการตรวจได้ครอบคลุมประชากร 30% และสามารถตรวจให้สตรีได้ทุกๆปีก็ตามกลับสามารถลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้เพียง 15% เท่านั้น ดังนั้นการที่จะให้สตรีได้รับการทำ Pap Smear ได้ครอบคลุมให้มากที่สุด จึงเป็นการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ที่กำหนดให้ทุกพื้นที่ดำเนินงานตามโครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ๓๐ - 60 ปีและสตรีที่มีอาการของโรคมะเร็งปากมดลูกทุกคนให้ได้รับการตรวจ Pap Smear โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานโครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายอันจะสามารถช่วยลดปัญหาอัตราป่วยตายของสตรีด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรีอายุ 3๐ - 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear
  2. 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานและทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมารับบริการตรวจคัดตรวจมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น ๒. อัตราการป่วย/ตายของสตรีด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม

วันที่ 5 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงาน และขออนุมัติดำเนินการ
  2. ประสานงานกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อขอสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และบุคคลากร


  3. ประชุมชี้แจงแก่  อสม. เพื่อติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจ Pap Smear ตามวัน  เวลาที่กำหนด
  4. ค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจดัดกรองทำ Pap Smear เพื่อส่งเข้ารับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานและทันท่วงทีตามวัน  เวลาที่กำหนด
  5. อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย ๑๐๐ คน (๒๐ % ของสตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปีในเขตรับผิดชอบของสถานบริการ)
  6. ติดตามผลการตรวจ / ส่งตัวรักษาต่อผู้ที่มีผลการตรวจผิดปกติ
  7. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามกลุ่มเป้าหมาย

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรีอายุ 3๐ - 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานและทันท่วงที
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีอายุ 3๐ - 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear (2) 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear ให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานและทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ห่วงใยสตรี ช่วยชีวียืนยาว จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3360-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.บ้านลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด