กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง ”
ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมูนา หลงตรี(เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข)




ชื่อโครงการ โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ ปี พ.ศ.2559 พบว่าเด็กอายุ 3 ปี ในอำเภอรัตภูมิมีความชุกในการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 55.8 และจากการสำรวจสุขภาพช่องปากของเด็กท่ามะปรางที่มีอัตราการเกิดฟันผุ ร้อยละ 73.3 ซึ่งถือว่ามีอัตราการเกิดฟันผุที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นในอำเภอรัตภูมิ โดยปัจจัยหลักในการเกิดฟันผุ เกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ไม่ถูกต้อง การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนม การไม่ทำความสะอาดช่องปากเด็ก พฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยเด็กมักจะรับประทานอาหารที่มีรสหวาน เหนียวติดฟัน และยังพบว่าผู้ปกครองหรือผู้ที่เลี้ยงดูเด็กขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลและทำความสะอาดสุขภาพช่องปากส่งผลให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก การเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็ก มีลักษณะฟันผุหลายซี่ในช่องปาก ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนักและการเจริญเติบโตของเด็ก การขาดความมั่นใจในบุคลิกภาพของตนเอง และอาจส่งผลให้ฟันน้ำนมซี่อื่นๆในช่องปากรวมถึงฟันแท้ที่จะขึ้นมีโอกาสผุมากขึ้น แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น เพราะหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถรักษาฟันน้ำนมให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในเด็กเล็กยังไม่สามารถทำความสะอาดหรือดูแลช่องปากของตนเองได้ ผู้ปกครองจึงเป็นบุคคลสำคัญที่มีบทบาทในการสร้างพฤติกรรมและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องให้แก่เด็ก ดังนั้นฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองยางแดงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้เห็นถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้มีการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบของการให้บริการทันตกรรม การตรวจสุขภาพช่องปาก และการฝึกทักษะการทำความสะอาดสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีแก่ผู้ปกครองรวมถึงออกเยี่ยมบ้าน เพื่อแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพและลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแก่เด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กที่มีฟันน้ำนมขึ้น
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลและทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 250
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลและทักษะในการทำความสะอาดสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
    2. มีการส่งเสริมการทำงานเป็นเครือข่ายทันตสุขภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กในชุมชน
    3. มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในชุมชน โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ
    4. เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแก่เด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กที่มีฟันน้ำนมขึ้น
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กที่มีฟันน้ำนมขึ้น 100%

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลและทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลและทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี
    ตัวชี้วัด : สามารถเยี่ยมบ้านเด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปีที่เข้าร่วมโครงการได้ 100%

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 250
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแก่เด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กที่มีฟันน้ำนมขึ้น (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลและทำความสะอาดช่องปากเด็กอย่างถูกวิธี (3) เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ 9 เดือน - 2 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กก่อนปฐมวัยฟันสวยยิ้มใสด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมูนา หลงตรี(เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด