โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2559
ชื่อโครงการ โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความสะอาดถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาวะอนามัยที่ดี การที่เด็กนักเรียนมีสุขภาวะที่ดีย่อมส่งผลดีต่อร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
ในพื้นที่ตำบลบาเจาะ เด็กนักเรียนส่วนใหญ่ยังมีสุขภาวะของร่างกายที่ไม่ค่อยดี ไม่ว่าจะเป็นโรคทางผิวหนัง หนังศรีษะ และความสะอาดของร่างกาย การที่เด็กมีโรคทางผิวหนัง เช่น เกลื้อน เมื่อมีการใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่นโรคชนิดนี้ก็จะติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้
ดังนั้น เพื่อปผลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีของนนักเรียนต่อการดูแลสุขภาวะของร่างกาย จำเป็นจะต้องมีแบบอย่างที่ดี ซึ่งได้แก่ผู้ปกครงที่ควรอบรมและดูแลความสะอาดของร่างกายบุตรหลานของตนเอง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ปกครองและบุตรหลานตะหนักถึงความสำคัญของความสะอาดของร่างกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและผู้ปกครงที่เข้าร่วมโครงการเกิดความสนใจในการดูแลความสะอาดของร่างกาย
- นักเรียนและผูปกครองที่เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการดูแลความสะอาดของร่างกายที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ก่อนการอบรมเมื่อมีการลงไปตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านสาคูทั้งหมด 127 คนพบว่า
1.1 ตารางจำแนกประเภทสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าปัญหาหลักที่พบในเด็กนักเรียนคือด้านความสะอาดของเสื้อผ้า ซึ่งพบว่า ใส่เสื้อผ้าที่ไม่สะอาดจำนวน 42 คน คิดเป็น ร้อยละ 33.07 รองลงมา คือ หนังศีรษะ พบเหาในเด็กนักเรียนหญิงทั้งหมด 38 คน คิดเป็นร้อยละ 29.92 และอันดับสุดท้าย คือพบโรคทางผิวหนัง คือ 25 คน คิดเป็นร้อยละ 19.69
1.2 ตารางแสดงจำนวนบุคคลที่มีสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าในเด็กนักเรียน จำนวน 25 คน มีการตรวจพบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 3 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 19.69 เด็กนักเรียนจำนวน 12 คน ที่พบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 2 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 9.45 และเด็กนักเรียน จำนวน 50 คนที่เป็น 1 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 39.37 และเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะที่ดีจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 31.50
หลังการอบรมเมื่อมีการลงไปตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านสาคูทั้งหมด 127 คนพบว่า
2.1 ตารางจำแนกประเภทสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าปัญหาที่ยังพบในเด็กนักเรียนคือด้านความสะอาดของเสื้อผ้า ซึ่งพบว่า ใส่เสื้อผ้าที่ไม่สะอาดจำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.11 รองลงมา คือ ด้านผิวหนัง มีเกลื้อน ทั้งหมด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 11.81 และอันดับสุดท้าย คือด้านศีรษะ พบเหา คือ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 9.44 ซึ่งเมื่อเทียบกับก่อนรับการอบรมปัญหาสุขภาวะของเด็กเริ่มมีจำนวนลดน้อยลง ทำให้ได้รับรู้ว่านักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาและคำนึงถึงความสำคัญของสุขภาวะที่ดีของร่างกาย
2.2 ตารางแสดงจำนวนบุคคลที่มีสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าในเด็กนักเรียน จำนวน 2 คน มีการตรวจพบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 3 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 1.57 เด็กนักเรียนจำนวน 8 คน ที่พบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 2 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 6.12 และเด็กนักเรียน จำนวน 15 คนที่เป็น 1 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 11.81 และเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะที่ดีจำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 80.31ซึ่งเมื่อเทียบกับก่อนรับการอบรมปัญหาสุขภาวะของเด็กเริ่มมีจำนวนลดน้อยลง ทำให้ได้รับรู้ว่านักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาและคำนึงถึงความสำคัญของสุขภาวะที่ดีของร่างกาย
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสุงค์
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ..................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 30 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ . 14,750 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง . 14,750 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ 0 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
2
2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของผู้ปกครองที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
3
3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะอนามัยที่ดี
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสันต์เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ
กันยายน 2559
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความสะอาดถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาวะอนามัยที่ดี การที่เด็กนักเรียนมีสุขภาวะที่ดีย่อมส่งผลดีต่อร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ในพื้นที่ตำบลบาเจาะ เด็กนักเรียนส่วนใหญ่ยังมีสุขภาวะของร่างกายที่ไม่ค่อยดี ไม่ว่าจะเป็นโรคทางผิวหนัง หนังศรีษะ และความสะอาดของร่างกาย การที่เด็กมีโรคทางผิวหนัง เช่น เกลื้อน เมื่อมีการใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่นโรคชนิดนี้ก็จะติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ ดังนั้น เพื่อปผลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีของนนักเรียนต่อการดูแลสุขภาวะของร่างกาย จำเป็นจะต้องมีแบบอย่างที่ดี ซึ่งได้แก่ผู้ปกครงที่ควรอบรมและดูแลความสะอาดของร่างกายบุตรหลานของตนเอง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ปกครองและบุตรหลานตะหนักถึงความสำคัญของความสะอาดของร่างกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและผู้ปกครงที่เข้าร่วมโครงการเกิดความสนใจในการดูแลความสะอาดของร่างกาย
- นักเรียนและผูปกครองที่เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร
- นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการดูแลความสะอาดของร่างกายที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ก่อนการอบรมเมื่อมีการลงไปตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านสาคูทั้งหมด 127 คนพบว่า
1.1 ตารางจำแนกประเภทสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าปัญหาหลักที่พบในเด็กนักเรียนคือด้านความสะอาดของเสื้อผ้า ซึ่งพบว่า ใส่เสื้อผ้าที่ไม่สะอาดจำนวน 42 คน คิดเป็น ร้อยละ 33.07 รองลงมา คือ หนังศีรษะ พบเหาในเด็กนักเรียนหญิงทั้งหมด 38 คน คิดเป็นร้อยละ 29.92 และอันดับสุดท้าย คือพบโรคทางผิวหนัง คือ 25 คน คิดเป็นร้อยละ 19.69
1.2 ตารางแสดงจำนวนบุคคลที่มีสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าในเด็กนักเรียน จำนวน 25 คน มีการตรวจพบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 3 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 19.69 เด็กนักเรียนจำนวน 12 คน ที่พบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 2 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 9.45 และเด็กนักเรียน จำนวน 50 คนที่เป็น 1 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 39.37 และเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะที่ดีจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 31.50
หลังการอบรมเมื่อมีการลงไปตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านสาคูทั้งหมด 127 คนพบว่า
2.1 ตารางจำแนกประเภทสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าปัญหาที่ยังพบในเด็กนักเรียนคือด้านความสะอาดของเสื้อผ้า ซึ่งพบว่า ใส่เสื้อผ้าที่ไม่สะอาดจำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.11 รองลงมา คือ ด้านผิวหนัง มีเกลื้อน ทั้งหมด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 11.81 และอันดับสุดท้าย คือด้านศีรษะ พบเหา คือ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 9.44 ซึ่งเมื่อเทียบกับก่อนรับการอบรมปัญหาสุขภาวะของเด็กเริ่มมีจำนวนลดน้อยลง ทำให้ได้รับรู้ว่านักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาและคำนึงถึงความสำคัญของสุขภาวะที่ดีของร่างกาย
2.2 ตารางแสดงจำนวนบุคคลที่มีสุขภาวะด้านร่างกายที่มีผลต่อสุขภาพ
จากตารางจะพบว่าในเด็กนักเรียน จำนวน 2 คน มีการตรวจพบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 3 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 1.57 เด็กนักเรียนจำนวน 8 คน ที่พบสุขภาวะที่ไม่ดีทั้ง 2 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 6.12 และเด็กนักเรียน จำนวน 15 คนที่เป็น 1 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 11.81 และเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะที่ดีจำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 80.31ซึ่งเมื่อเทียบกับก่อนรับการอบรมปัญหาสุขภาวะของเด็กเริ่มมีจำนวนลดน้อยลง ทำให้ได้รับรู้ว่านักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาและคำนึงถึงความสำคัญของสุขภาวะที่ดีของร่างกาย
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสุงค์
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ..................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 30 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ . 14,750 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง . 14,750 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ 0 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของผู้ปกครองที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสุขภาวะอนามัยที่ดี |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฝึกจิตสำนึกของนักเรียนในการรักษาความสะอาดส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลความสะอาดร่างกายของบุตร (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาวะอนามัยที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอนามัยส่วนบุคคลครอบครัวต้องใส่ใจ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสันต์เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......