กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพสต.บ้านนาโหนด ต.นาโหนด อ.เมืองพัทลุง
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 5,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศิริรัตน์ด้วงคง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพสต.บ้านต้นไทร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.507,100.061place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด ได้จัดทำโครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปที่สนใจดูแลสุขภาพ ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ รวมทั้งให้เกิดความเข้าใจปัญหา อ้วน ลงพุง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชน มีน้ำหนักและรอบเองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผุ้หญิงไม่เกิน 80 ซม. และผู้ชายไม่เกิน 90 ซม.

ประชาชนมีน้ำหนักและรอบเอวอยูในมาตรฐาน คือ ผู้หญิงไม่เกิน 80 ซม. และ ผู้ชายไม่เกิน 90 ซม. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิต

อัตราการเพิ่มขึ้นของผุ้ป่วยโรคเรื้อรังลดลง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.รับสมัครสมาชิกตามมาตรการของคลีนิกลดพุง 1.1 มีการอบรมเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 1.2 มีการติดตามการตรวจสุขภาพหรือพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ
2.ประชาสัมพันธ์คลีนิก 2.1 เผยแพร่นโยบายในสำนักงานและในชุมชน 2.2 ประชาสัมพันธ์ วัน เวลา ที่ให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ
3.ดำเนินการในคลีนิกทุกวันศุกร์ เวลา 13.00-16.00 น. 4. ติดตาม ประเมิน และสรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมาย มีรอบเอว และค่าดัชนีมวลกายไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละ 80 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีสุขภาพดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ด้วยหลัก 3 อ 2 ส
3.ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพตนเองมากขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบลดพุงไร้โรค ขยายผลสุู่เครือข่ายในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2560 10:12 น.