กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ


“ โครงการ Smart kid ”

ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข

ชื่อโครงการ โครงการ Smart kid

ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3066-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Smart kid จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Smart kid



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน (2) 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพที่ดีและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรหลาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) จัดประชุมชี้แจงแก่กลุ่มเป้าหมาย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจริญเติบโตของเด็ก เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญทั้งทางด้านร่งกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา ปัจจุบันมีปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ได้แก่ ภาวะโภชนาการในเด็ก ได้แก่ ภาวะโภชนาการในเด็กขาดสารอาหารต่างๆเช่น โปรตีน วิตามิน สารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กรวมถึงสุขภาพในช่องปากและฟัน ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการเด็ก การกระตุ้นและการดูแลเฝ้าระวังส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการสามารถป้องกันได้ การประเมินพัฒนาการ ภาวะโภชนาการและงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้ทราบถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไข้ ร่วมถึงการส่งเสริมภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย เพื่อควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ จากปัหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงเปาว์ จึงได้จัดทำโครงการ Smart Kid ในพื้นที่รับผิดชอบขึ้นเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่เด็กและผูปกครอง รวมทั้งให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญมีความเข้าใจ และรับทราบข้อมูล พัฒนาการ ภาวะโภชนาการและงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโาคของเด็กกลุ่มก่อนวัยเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมนำบุตรหลานมารับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้วยความเต็มใจและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน
  2. 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพที่ดีและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรหลาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
  2. จัดประชุมชี้แจงแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนได้รับข้อมูลข่าวสารและมีการประชาสัมพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเห็นความสำคัญของการนำบุตรหลานมารับบริการในสถานบริการ 2.อาสาสมัครสาธารณะสุข (อสม.)สามารถประเมินภาวะโภชนาการและเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง 3.เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีและมีภาวะโภชนาการที่ดี สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข

วันที่ 8 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการ เรื่องการประเมินภาวะโภชนาการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการแก่ อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถประเมินภาวะโภชนาการและเฝ้าระวังและส่งเริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ถูกต้อง

 

45 0

2. จัดประชุมชี้แจงแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง เรื่องการประเมินภาวะโภชนาการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพในช่องปากที่ดีและมีภาวะโภชนาการที่ดี สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุตามวัตถุประสงค์ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการดำเนินโครงการผู้ปกครองและ อสม.สามารถนำความรู้ๆไปปฏิบัติในการประเมิน Smart Kid เบื้องต้นได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : อัตราสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีความรู้
80.00 70.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพที่ดีและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองสามารถป้องกันการเกิดโรคของเด็กกลุ่มก่อนเรียน
90.00 85.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญของการเกิดโรคในเด็ก
90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 45 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน (2) 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพที่ดีและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรหลาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) จัดประชุมชี้แจงแก่กลุ่มเป้าหมาย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Smart kid จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3066-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด