กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจไร้ขยะ มัสยิดบะห์รูลอิสลามมียะห์
รหัสโครงการ 60-L3038-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ มัสยิดบะห์รูลอิสลามมียะห์
วันที่อนุมัติ 20 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2560
งบประมาณ 5,475.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลฮะหมีด ปะด้อ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.802,101.448place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ม.ค. 2560 29 ก.ย. 2560 5,475.00
รวมงบประมาณ 5,475.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้คือขยะย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยจนกระทั่ง การกำจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะจึงมีขยะที่เหลือตกค้างจากการกำจัดเป็นจำนวนมากแม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้ เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทาง ด้านทัศนวิสัยกลิ่น ความสะอาดและอาจก่อให้เกิดปัญหาขยะล้นเมืองได้ ซึ่งรัฐบาลก็ยังได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเร่งด่วนในการบริหารจัดการขยะและได้จัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี พ.ศ. 2559 – 2560 ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2559 - 2564 และคณะรัฐมนตรีไดมีมติ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559 เห็นชอบแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทย ไรขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ป (พ.ศ. 2559 - 2560) ซึ่งแผนปฏิบัติการฯ ดังกลาว เป็นแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการขยะ ในระยะสั้นของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนโดยทั่วไปใหมีส่วนรวมในการดําเนินการลดขยะที่ตนทางเพื่อใหวางรากฐานการดําเนินการการจัดการขยะเปนไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คณะกรรมการมัสยิดบะห์รูลอิสลามมียะห์ จึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาเรื่องขยะดังกล่าวว่าเป็นปัญหาที่สำคัญและในชุมชนมีปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกปีจากปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดภาวะโรคติดต่อต่างๆ จากขยะได้ ซึ่งประชาชนในชุมชนก็ขาดความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่และให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการขยะด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง เกิดความยั่งยืนต่อไป จึงได้จัดทําโครงการชุมชนร่วมใจไร้ขยะ ประจำปีงบประมาณ 2560 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ

 

2 เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่

 

3 เพื่อให้ชุมชนบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง

 

4 เพื่อลดภาวะโรคติดต่อต่างๆ อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู แมลง เป็นต้น

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้ชุมชนบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อลดภาวะโรคติดต่อต่างๆ อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู แมลง เป็นต้น

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผน
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
- จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุมและอบรม เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม และอบรม - ดำเนินการสืบราคาครุภัณฑ์ตามรายการ เบื้องต้น
- จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลตอหลัง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจาก
  2. มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่
  3. ชุมชนมีการบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง
  4. ลดภาวะโรคติดต่อที่อาจเกิดจากขยะได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 มี.ค. 2560 14:03 น.