กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอย.น้อย สุขภาพดีเริ่มที่โรงเรียน
รหัสโครงการ 60-L3339-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลหารเทา
วันที่อนุมัติ 8 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2560 - 30 มิถุนายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,038.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนสำนักสงฆ์ห้วยเรือ
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยพรด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.288,100.267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสภาพวิถีชีวิตของคนปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปจากการพึ่งพาตนเอง โดยใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนมาเป็นการพึ่งพาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมากขึ้นได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอางค์ และวัตถุอันตรายซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความใกล้ชิดกับผู้คนปัจจุบันเป็นอย่างมากประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสามารถผลิตได้คราวละมากๆโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค โรงเรียนสำนักสงฆ์ห้วยเรือจึงได้จัดทำโครงการอย.น้อย สุขภาพดีเริ่มที่โรงเรียนเพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปขยายผลลงสู่ชุมชนในแนวกว้างต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้นักเรียนแกนนำ อย.น้อยได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชน

 

2 ๒.สามารถตรวจวอเคราะห์อาหารได้อย่างถูกต้อง

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๑.จัดอบรมให้ความรู้และพฤติกรรมด้านการบริโภคแก่นักเรียน ๒.จัดกิจกรรมทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ๓.จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ด้านการบริโภคในชุมชน ๔.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่างๆเช่น เสียงตามสายในชุมชนและโรงเรียน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชน ๒.นักเรียนตรวจวิเคราะห์อาหารได้อย่างถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 มี.ค. 2560 14:14 น.