กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2476-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ จากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษแบบเฉียบพลันและเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต จากการดำเนินการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ในปี 2561 มีการดำเนินงานในเกษตรกรจำนวน 50 คน โดยเป็นกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการสัมผัสสารเคมีกิจกรรมคัดกรองประเมินความเสี่ยง (แบบ นบก.1) ซึ่งพบว่ามีความเสี่ยงค่อนข้างสูงจนถึงเสี่ยงสูงมาก จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 แต่จากกิจกรรมการเจาะเลือดตรวจคัดกรองโดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่าทั้งที่เป็นเกษตรกรและที่ไม่ได้เป็นเกษตรกร แต่ใช้สารเคมีศัตรูพืชได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองโดยใช้กระดาษ ทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 พบว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และพบว่าเป็นกลุ่มที่ไม่ปลอดภัย จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42 จะเห็นได้ว่าทั้งกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเกษตรกร บางส่วนที่ยังใช้สารเคมีศัตรูพืชอยู่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
  2. เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองตรวจหาสารตกค้างในกระแสเลือดพร้อมอบรมให้ความรู้
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในเขตตำบลดุซงญอ
  2. เกษตรกรและผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. เกษตรกรมีความรู้ และตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองตรวจหาสารตกค้างในกระแสเลือดพร้อมอบรมให้ความรู้

วันที่ 24 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุม อสม.ในพื้นที่เพื่อร่วมกันกำหนดแผนงานการลงปฏิบัติในพื้นที่
  2. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรอง ในการตรวจเลือด ดดยใช้กระดาษเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส
  3. ตรวจคัดกรองโดยการสัมภาษณ์และใช้แบบฟอร์มที่กำหนดเพื่อประเมินความเสี่ยงทางกายและจิตใจ
  4. เจาะเลือดหาเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือด
  5. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการใช้สมุนไพรจากธรรมชาติ
  6. สรุปผลการตรวจคัดกรองในการตรวจเลือดหาสารพิษตกค้างในร่างกาย และรายงานผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการของเกษตรกรที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อสารพิษกำจัดศัตรูพืช ไม่เกินร้อยละ 32

 

300 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ

วันที่ 24 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบ เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา สถานที่ ในการตรวจหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในเลือดของเกษตรกลุ่มเสี่ยงในเขตตำบลดุซงญอ 2. เกษตรกรและผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3. เกษตรกรมีความรู้ และตระหนักในการหลีกเลี่ยงใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
ตัวชี้วัด : จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
300.00 300.00

 

2 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
300.00 300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย (2) เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองตรวจหาสารตกค้างในกระแสเลือดพร้อมอบรมให้ความรู้ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด